ความเต็มใจในการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลผ่านแอปพลิเคชันธนาคารพาณิชย์ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อระบุปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับความเต็มใจในการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการผ่านแอปพลิเคชันธนาคารพาณิชย์ โดยกรอบแนวคิดของงานวิจัยในครั้งนี้มีการประยุกต์มาจากกรอบแนวคิดแคลคูลัสภาวะส่วนตัว การวิจัยเชิงปริมาณนี้ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย จำนวน 409 คน จากผู้ใช้บริการของแอปพลิเคชันธนาคารพาณิชย์ เพื่อตอบแบบสอบถามและการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยแบบจำลองสมการถดถอยเชิงเส้นตรง ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับความเต็มใจในการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการผ่านแอปพลิเคชันธนาคารพาณิชย์ ประกอบด้วย ด้านมูลค่าการเปิดเผย และ ด้านความวางใจในระบบ โดยให้ความสำคัญกับปัจจัยด้านมูลค่าการเปิดเผยมากกว่าปัจจัยด้านความวางใจในระบบ เนื่องจากคำนึงประโยชน์ที่จะได้รับจากการเปิดเผยข้อมูลทำให้เกิดการยอมรับความเสี่ยงและเต็มใจเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลผ่านแอปพลิเคชันของธนาคารพาณิชย์
Article Details
ข้อความภายในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารทั้งหมด รวมถึงรูปภาพประกอบ ตาราง เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ การนำเนื้อหา ข้อความหรือข้อคิดเห็น รูปภาพ ตาราง ของบทความไปจัดพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสารอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
มหาวิทยาลัยฯ อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยต้องแสดงที่มาจากวารสารและไม่ใช้เพื่อการค้า
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ และบุคลากร คณาจารย์ท่านอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยฯแต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการ
References
ชนิกานต์ โห้ไทย. (2565). การชำระเงินดิจิทัล ทางเลือกหลักของคนไทยในยามวิกฤต Covid-19.
สืบค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2565 จาก https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/Pages/Article_8Mar2021.aspx.
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2557). Payment Systems Insight ไตรมาส 1 ปี 2557 บริการทางการเงินผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ Mobile Financial Service. สืบค้นเมื่อ 14 ตุลาคม 2565 จากhttps://www.bot.or.th/Thai/PaymentSystems/Publication/ps_quarterly_report/Payment%20Systems%
Insight/PS_%20Insight_2014Q1.pdf.
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2565). ธุรกรรมการชำระเงินผ่านบริการ Mobile Banking และ Internet Banking. สืบค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2565 จาก
https://www.bot.or.th/App/BTWS_STAT/statistics/ReportPage.aspx?reportID=949&language=th.
ประกายเทียน สันนิถา. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้บริการผ่านแอปพลิเคชัน SCB Easy App ของลูกค้าธนาคารไทยพาณิชย์ (มหาชน). คณะบริหารธุรกิจ.
กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามคำแหง. สืบค้นเมื่อ 16 ตุลาคม 2565 จาก https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/sat16/ 6114060068.pdf.
พธู พิมพ์ระเบียบ, วิทสินี บวรอัศวกุล, สันทัด พรประเสริฐมานิต, ศิพัตม์ ไตรอุโฆษ และ สุพจน์ ศรีนุตพงษ์. (2564). อิทธิพลกำกับของการรับรู้ความเสี่ยงออนไลน์ด้านความ เป็นส่วนบุคคลในความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย ด้านลักษณะของผู้ประกอบการค้าและความเต็มใจในการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 43(4), 38-59.
สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล. (2565). คู่มือ PDPA สำหรับประชาชน. สืบค้นเมื่อ 7 ตุลาคม 2565 จาก
https://www.mdes.go.th/mission/detail/.
เสาวลักษณ์ พูลทรัพย์. (2562). การยอมรับเทคโนโลยีที่มีผลต่อความตั้งใจใช้บริการชำระเงินสมทบกองทุนประกันสังคมผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักงานประกันสังคม. การค้นคว้าอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
อัจฉรา จันทร์ฉาย และคณะ. (2553). สรุปผลการวิจัยการศึกษาเปรียบเทียบภาพลักษณ์ของกิจการของประเทศไทยและต่างประเทศ. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์.
เอกพันธ์ พัฒนาวิจิตร. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล กรณีศึกษาการลงชื่อเข้าใช้ด้วยรหัสผู้ใช้เฟซบุ๊ก. การค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Culnan, M. J., & Armstrong, P. K. (1999). Information Privacy Concerns, Procedural Fairness, and Impersonal Trust: An Empirical Investigation. Organization Science, 10(1), 104-115. from https://doi.org/10.1287/orsc.10.1.104.
Culnan, M. J., & Bies, R.J. (2003). Consumer Privacy: Balancing Economic and Justice Considerations. Journal of Social Issues, 59(2), 323-342. from https://doi.org/10.1111/1540-4560.00067.
Dinev, T., & Hart, P. (2006). An Extended Privacy Calculus Model for E-Commerce Transactions. Information Systems Research, 17(1), 61-80. from https://www.jstor.org/stable/23015781.
Hair, J.F., Black, W.C., Babin, B.J. & Anderson, R.E. (2010). Multivariate Data Analysis. 7th ed. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.
Li, H., Sarathy, R., & Xu, H. (2010). Understanding Situational Online Information Disclosure as A Privacy Calculus. Journal of Computer Information Systems, 51(1), 62-71. from https://doi.org/10.1080/08874417.2010.11645450.
Sheng, H., Nah, F.F.H., & Siau, K. (2008). An experimental study on ubiquitous commerce adoption: Impact of personalization and privacy concerns. Journal of the Association for Information Systems, 9(6), 15. from https://doi.org/10.17705/1jais.00161.
Smart SME. (2562). 5 อันดับธนาคารยอดนิยมของคนกรุงผ่านการใช้บริการ Mobile Banking App. สืบค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2565 จาก https://www.smartsme.co.th/content/220908
Xin, Yan. (2009). Linear Regression Analysis: Theory and Computing. World Scientific. pp. 1-2. Retrieved on November 10, 2022 from
https://www.pdfdrive.com/linear-regression-analysis-e2065764.html.