FACTORS OF PERCEIVED ORGANIZATIONAL SUPPORT AND ORGANIZATIONAL COMMITMENT TO PARTICIPATION IN LEAN MANUFACTURING: A CASE STUDY OF A DYE MANUFACTURER IN CHONBURI PROVINCE

Authors

  • Aritsara Ketnak Department of Management Sciences, Faculty of Management Sciences, Kasetsart University Sriracha Campus
  • Saraphat Saraphat Department of Management Sciences, Faculty of Management Sciences, Kasetsart University Sriracha Campus

Keywords:

Perceived Organizational, Support Organizational Commitment, Participation in Lean Manufacturing

Abstract

            This research aimed 1) to investigate the influence of organizational perception of employee involvement in Lean production system activities, and 2) to explore the impact of organizational commitment on employee participation in Lean production system activities. The sample group, selected by simple random sampling method (lottery draw), consisted of 189 employees in a textile manufacturing company in Chonburi province. Statistical analysis included frequency values, percentages, means, standard deviations, and hypothesis testing through multiple regression analysis by including all variables (Enter Regression). The research findings revealed that perceived organizational support in terms of knowledge, advancement opportunities, work stability, and emotional support positively influenced employee participation in Lean production system activities significantly at a statistical significance level of .05. Organizational commitment in terms of continuance commitment and normative commitment also significantly impacted employee involvement in Lean production system activities at a statistical significance level of .05.

Author Biographies

Aritsara Ketnak, Department of Management Sciences, Faculty of Management Sciences, Kasetsart University Sriracha Campus

Department of Management Sciences, Faculty of Management Sciences, Kasetsart University Sriracha Campus

Saraphat Saraphat, Department of Management Sciences, Faculty of Management Sciences, Kasetsart University Sriracha Campus

Department of Management Sciences, Faculty of Management Sciences, Kasetsart University Sriracha Campus

References

ชลิตา เต็งมณี. (2562). ผลของการรับรู้การสนับสนุนขององค์การและความยึดมั่นผูกพันในงานที่มีต่อการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องของพนักงาน กรณีศึกษา บริษัทผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์แห่งหนึ่ง นิคมอุตสาหกรรมเหมราชอีสเทิร์นซีบอร์ด จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาอุตสาหกรรม, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ณิชา เกตุงาม. (2562). ภาวะผู้นำแบบการเปลี่ยนแปลงและความผูกพันต่อองค์การที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานปฏิบัติการอุตสาหกรรมเหล็กบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาอุตสาหกรรม, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ทศพล สิลสมบัติ. (2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการลดต้นทุนการผลิตของผู้ประกอบอาชีพวิศวกรรม ในกลุ่มอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์นิคมอุตสาหกรรม เหมราชอีสเทิร์นซีบอร์ด จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาอุตสาหกรรม, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ธีระ วีรธรรมสาธิต. (2532). ความผูกพันต่อองค์การ ศึกษาเฉพาะกรณีผู้บริหารระดับหัวหน้าแผนก เทียบท่าของเครือซีเมนต์ไทย. สารนิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาบริหารรัฐกิจ, คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2557). การวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.

ธัญลักษณ์ พลแก้ว. (2563). การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมในกิจกรรมปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (ไคเซ็น) กรณีศึกษา บริษัทผลิตเครื่องปรับอากาศในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาอุตสาหกรรม, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

พิริยะ ริยะตานนท์. (2561). ปัจจัยการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การที่มีต่อการมีส่วนร่วมในกิจกรรมปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (ไคเซ็น) ในโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์เอ็กซ์ในนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาอุตสาหกรรม, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สลักจิตร นพเทา. (2559). ผลกระทบของทัศนคติแรงจูงใจ ความผูกพันต่อองค์การ และภาวะผู้นำต่อการมีส่วนร่วมของพนักงานในการดำเนินกิจกรรมการบำรุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วมของอุตสาหกรรมเหล็กแผ่นรีดเย็นในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาอุตสาหกรรม, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. (2566). สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไทย ปี 2565 และแนวโน้มปี 2566 (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: https:// www.oie.go.th/assets/portals/1/fileups/2/files/Industry%20conditions/annual2022trends2023.pdf [2566, 10 มีนาคม].

Allen, N. J., & Meyer, J. P. (1990). The measurement and antecedents of affective, continuance and normative commitment to the organization. Journal of occupational psychology, 63(1), pp. 1-18.

Chapin, F. S. (1997). Social Participation and Social Intelligence (3rd ed.). New York: Longman.

Cronbach, L. J. (1970). Essentials of Psychological Testing (5th ed.). New York: Harper and Row.

Krejcie, R.V. and Morgan, D.W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement 30, pp. 607-610.

Modern Dyestuffs & Pigments. (2023). About modern (Online). Available: https://www.modern.co.th/about-modern/#history-profile [2023, December 4].

Porter, L. W., Steers, R. M., Mowday, R. T., & Boulian, P. V. (1974). Organizational commitment, job satisfaction, and turnover among psychiatric technicians. Journal of applied psychology, 59(5), pp. 603-609.

Rhoaddes, L., Eisenberge, R., & Armeli, S. (2001). Affective commitment to the organization: The contribution of perceived organizational support. Journal of Applied Psychology, 86(5), pp. 825–836.

Rhoades, L., & Eisenberger, R. (2002). Perceived organization support: A Review of the literature. Journal of Applied Psychology, 87(4), pp. 698-714.

Downloads

Published

2024-07-01

Issue

Section

บทความวิจัย