The ความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยว คุณภาพบริการ ความพึงพอใจ และความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวที่เดินทางท่องเที่ยว ในตลาดชุมชนจีนโบราณบ้านชากแง้ว จังหวัดชลบุรี

ผู้แต่ง

  • ณัฏฐพัชร มณีโรจน์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คำสำคัญ:

ภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยว, คุณภาพบริการ, ความพึงพอใจ, ความตั้งใจเชิงพฤติกรรม, ตลาดจีน โบราณ, บ้านชากแง้ว

บทคัดย่อ

                การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยว คุณภาพบริการ ความพึงพอใจ และความตั้งใจเชิงพฤติกรรม และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยว คุณภาพบริการ ความพึงพอใจ กับความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวที่เดินทางท่องเที่ยวในตลาดชุมชนจีนโบราณบ้านชากแง้ว จังหวัดชลบุรี ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .884 มีลักษณะเป็นแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักท่องเที่ยวที่เดินทางท่องเที่ยวในตลาดชุมชนจีนโบราณบ้านชากแง้ว จำนวน 384 ตัวอย่าง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเพื่อศึกษาระดับของตัวแปร และวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันเพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร พบว่าค่าเฉลี่ยของตัวแปรความตั้งใจเชิงพฤติกรรม คุณภาพบริการ ภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยว และความพึงพอใจ อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนค่าความสัมพันธ์ของตัวแปร พบว่าความพึงพอใจ คุณภาพการบริการกับความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และภาพลักษณ์การท่องเที่ยวกับความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2560). การบูรณาการเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ.
2558-2560 (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://www.jpp.moi.go.th/files/MOTS.pdf [2661, 10 มิถุนายน].
นงนุช กันธะชัย และธีระ เตชะมณีสถิตย์. (2558). ความตั้งใจเชิงพฤติกรรมในการใช้บริการของ นักท่องเที่ยวภายในประเทศ กรณีศึกษา นักท่องเที่ยวจังหวัดเชียงราย. Journal of Management Sciences, 32(2), หน้า 117-144.
โพสต์ทูเดย์. (2559). รัฐดึงเยาวชนช่วยส่งเสริมการท่องเที่ยวในท้องถิ่น (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก:
https://www.posttoday.com/economy/416097 [2561, 6 พฤษภาคม].
พบพร โอทกานนท์ และเยาวภา ปฐมศิริกุล. (2556). คุณภาพการบริการ ภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยว และ
ความพึงพอใจที่ส่งผลต่อความตั้งใจเชิงพฤติกรรมการท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาวของชาวยุโรป
และอเมริกัน. วารสารธรรมศาสตร์, 32(1), หน้า 35-56.
ผกามาศ ชัยรัตน์, เกษมสุข เขียวทอง และสุทธิพงศ์ ยุสเปรมานนท์. (2561). การส่งเสริมการท่องเที่ยวโดย
ชุมชนจีนบ้านชากแง้ว อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ การ ท่องเที่ยวและการโรงแรมร่วมสมัย ครั้งที่ 5 การท่องเที่ยวอีสาน ผสานชุมชน ผลักดันผลิตผลการ ท่องเที่ยวเมืองรองอย่างยั่งยืน (หน้า 183-191). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน. (2560). ชุมชนท่องเที่ยว (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: www.cbt-i.or.th/?&
start=30&page=2&ge=travel&categoryTravel=&regionTravel=&provinceTravel=&keyword=&s earch=search [2661, 10 มิถุนายน].
สายใจ เต็งสุวรรณ. (2561, 24 พฤษภาคม). รองประธานชุมนมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนชากแง้ว. สัมภาษณ์.
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2560). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
สินธุ์ สโรบล. (2560). การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก:
http://rescom.trf.or.th/display/keydefault.aspx?id_colum=276 [2661, 10 มิถุนายน].
อัครพงศ์ อั้นทอง และมิ่งสรรพ์ ขาวสอาด. (2553). ภาพลักษณ์และพฤติกรรมนักท่องเที่ยวต่างชาติภายใต้
สถานการณ์วิกฤตการเมืองไทย. วารสารเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์, 28(3), หน้า 55-98.
Yajun, Y. และบุญเชิด หนูอิ่ม. (2560). ชุมชนบ้านชากแง้ว: การฟื้นฟู และการดำรงอยู่ (พ.ศ. 2552-2558).
วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 25(48), หน้า 103-126.
Aliman, A. K., et al. (2014). Tourist expectations, perceived quality and destination image: Effects on
perceived value and satisfaction of tourists visiting Langkawi Island, Malaysia. Asian Journal of Business and Management, 2(3), pp. 121-222.
Baloglu, S., & McCleary, K. W. (1999). A model of destination image formation. Annals of Tourism
Research, 26(4), pp. 868-897.
Beerli, A., & Martin, J. D. (2004). Tourists' characteristics and the perceived image of tourist destinations: A quantitative analysis a case study of Lanzarote, Spain. Tourism Management, 25(5), pp. 623-636.
Boulding, W., et al. (1993). A dynamic process model of service quality: From expectations to
behavioral intentions. Journal of Marketing Research, 30 (1), pp. 7-27.
Canny, I. U. (2013). An empirical investigation of service quality, tourist satisfaction and future behavioral intentions among domestic local tourist at Borobudur Temple. International Journal
of Trade, Economics and Finance, 4(2), pp. 86-91.
Chen, C. F., & Tsai, D. C. (2007). How destination image and evaluative factors affect behavioral
intentions. Tourism Management, 28, pp. 1115-1122.
Cole, S. T., Crompton, S. J., & Willson, V. L. (2002). An empirical investigation of the relationships
between service quality, satisfaction and behavioral intentions among visitors to a wildlife refuge. Journal of Leisure Research, 34(1), pp. 1-24.
Crompton, J. (1979). Motivations of pleasure vacations. Annals of Tourism Research, 6(4), pp. 408- 424.
Cronin, J., & Taylor, A. (1992). Measuring service quality: A reexamination and extension. Journal of marketing, 56(3), pp. 55-68.
Crosby, P. B. (1988). Quality is free. New York, NY: McGraw-Hill.
Echtner, C. M., & Ritchie, J. R. B. (2003). The meaning and measurement of destination image. Journal of Tourism Studies, 2(2), pp. 2-12.
Fakeye, P., & Crompton, J. (1991). Image differences between prospective, first-time, and repeat visitors
to the lower Rio Grande Valley. Journal of Travel Research, 30(2), pp. 10-16.
Fishbein, M., & Ajzen, I. (1975). Belief, attitude, intention and behavior: An introduction to theory and research. Reading, MA: Addison-Wesley.
Jang, S., & Feng, R. (2007). Temporal destination revisit intention: The effects of novelty seeking and
satisfaction. Tourism Management, 28, pp. 580-590.
Kamenidou, I., Mamalis, S., & Proporas, C. (2008). Measuring destination image and consumer choice
criteria: The case of Mykonos Island. An International Multidisciplinary Journal of Tourism,
4(3), pp. 67-79.
Kotler, P. (2000). Marketing management (10th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.
Kotler, P., Bowen, J., & Makens, J. (2014). Marketing for hospitality and tourism (6th ed.). Boston, MA: Pearson Education.
Kozak, M., & Rimmington, M. (2000). Tourist satisfaction with Mallorca, Spain, as an offseason holiday destination. Journal of Travel Research, 38(3), pp. 260-269.
Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational
and Psychological Measurement, 30, pp. 607-610.
Mohamad, M., Ali, A. M., & Ghani, N. I. A. (2011). A structural modeling of destination image tourist' satisfaction and destination loyalty. International Journal of Business and Management Studies, 3(2), pp. 167-177.
Oh, H. (1999). Service quality, customer satisfaction, and customer value: A holistic perspective. Hospitality Management, 18(1), pp. 67-82.
Oliver, L. R. (1997). Satisfaction: A behavioral perspective on the consumer. New York, NY: Irwin.
Oliver, R. L., & Swan, J. E. (1989). Consumer perceptions of interpersonal equity and satisfaction in transactions: A field survey approach. Journal of Marketing, 53(2), pp. 21-35.
Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1985). A conceptual model of service quality and its implications for future research. The Journal of Marketing, 49(4), pp. 41-50.
Pike, S. (2004). Destination marketing organizations. Oxford, MA: Elsevier.
Prayag, G. (2009). Tourists' evaluations of destination image, satisfaction, and future behavioral intentions-the case of Mauritius. Journal of Travel & Tourism Marketing, 26(1), pp. 836-853.
Ramseook-Munhurrun, P., Seebalucka, V. N., & Naidooa, P. (2015). Examining the structural relationships of destination image, perceived value, tourist satisfaction and loyalty: Case of Mauritius. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 175, pp. 252-259.
Tam, J. L. M. (2000). The effects of service quality, perceived value and customer satisfaction on behavioral intentions. Journal of Hospitality and Leisure Marketing, 6(4), pp. 31-43.
Woodside, A. G., Frey, L. L., & Daly, R. T. (1989). Linking service quality, customer satisfaction and behavioral intention. Journal of Health Care Marketing, 9(4), pp. 5-17.
Zeithaml, A. (2000). Service quality, profitability, and the economic worth of customers: What we know and what we need to learn. Journal of the Academy of Marketing Science, 28(1), pp. 67-85.
Zeithaml, A., Berry, L., & Parasuraman, A. (1996). The behavioral consequences of service quality.
Journal of Marketing, 60(2), pp. 31-46.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-12-31