การประยุกต์ใช้ผ้าทอจันเสนร่วมกับงานจักสานเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ ชุมชนเชิงพาณิชย์ จังหวัดนครสวรรค์
คำสำคัญ:
การประยุกต์ใช้, ผ้าทอจันเสนร่วมกับงานจักสาน, ผลิตภัณฑ์จากใบกล้วย, การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ชุมชนเชิงพาณิชย์บทคัดย่อ
การประยุกต์ใช้ผ้าทอจันเสนร่วมกับงานจักสานเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเชิงพาณิชย์จังหวัด นครสวรรค์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1). ศึกษาผลิตภัณฑ์จักสานที่เหมาะสมในการนำมาสร้างสรรค์ร่วมกับผ้าทอจันเสนให้มีรูปแบบสอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค 2).เพื่อศึกษาลวดลายผ้าทอจันเสนสำหรับออกแบบ ผลิตภัณฑ์จักสานใบตองกล้วย และ 3). เพื่อสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์จักสานใบตองกล้วยลวดลายผ้าทอจันเสน กลุ่มตัวอยํางที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ กลุ่มผู้รู้จำนวน 5 คน คือ นักออกแบบผลิตภัณฑ์ ผู้ประกอบการจักสาน ใบกล้วย ประธานกลุ่มสตรีผ้าทอจันเสน พัฒนาชุมชนอำเภอบรรพตพิสัย และนักวิชาการวัฒนธรรมชำนาญการจังหวัดนครสวรรค์ กลุ่มผู้ปฏิบัติ จำนวน 4 คน คือ ช่างสานลายและฟั่นเชือก ช่างถักเปีย ช่างเย็บกระเป๋า และ กลุ่มผู้เกี่ยวข้อง คือ ผู้บริโภคทั่วไปที่สนใจผลิตภัณฑ์จักสาน จำนวน 50 คน ผลิตภัณฑ์จักสานใบกล้วย จำนวน 8 ประเภท และผ้าทอจันเสน จำนวน 4 ลาย เครื่องมือที่ใช๎ในการวิจัย ได้แก่ แบบคัดเลือกลาย แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม แบบสังเกต การสนทนากลุ่ม แบบร่างผลิตภัณฑ์จักสาน และแบบประเมินความ พึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสร้างข้อสรุป ตีความแบบพรรณนาจากแบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ ตาราง วิเคราะห์ และหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจที่มีต่อรูปแบบผลิตภัณฑ์จักสานร่วมกับผ้าทอจันเสนReferences
ชลูด นิ่มเสมอ. (2545). งานวาดเส้นร่วมสมัย. กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์ พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด.
จรรยาวรรณ จรรยาธรรม และ ประทับใจ สิกขา. (2555). การพัฒนาเส้นใยของต้นจากเพื่อใช้ในการ
ออกแบบผลิตภัณฑ์. ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะศิลปประยุกต์และ
การออกแบบ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
ปานฉัตท์ อินทร์คง. (2556). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ระลึกชนเผ่าภาคเหนือเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิง
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาชนเผ่าม้งและเย้า. ส านักงานคณะกรรมการวิจัยแหํงชาติ.
ปาริชาติ ศรีสนาม. (2554). โครงการศึกษาพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากการผสมผสานเส้นใยจาก
ธรรมชาติ กรณีศึกษา บ้านเปือยดง เปือยน้า ต.มะค่า อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม. คณะ
สถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วัฒนะ จูฑะวิภาต. (2545). ศิลปพื้นบ้าน. กรุงเทพมหานคร : สิปประภา.
วณิศรา ไทยสมบูรณ์. (2557). การศึกษาพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมท้องถิ่น กรณีศึกษากลุ่ม
วัสดุจากต้นกล้วย ชุมชนบ้านหัวควาย ต าบลคูเต่า อ าเภอหาดใหญ่ จังหวดสงขลา.
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. (2553) “ศิลปหัตถกรรมพื้นบ๎าน : เอกลักษณ์เฉพาะถิ่น”,วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่
ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน) น. 163-184.
วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. (2541). เครื่องจักสานไทย. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภาลาดพร๎าว.
ธนทรัพย์ ปิยะมณีธนา (2559) การเลือกใช้วัสดุ. สืบค๎นเมื่อ 15 ตุลาคม 2563 จาก