คุณค่าของผลงานศิลปะอีโรติกในเชิงวัฒนธรรม

ผู้แต่ง

  • ณปภัช เจริญผล ภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

คำสำคัญ:

คุณค่า, ศิลปะอีโรติก, เชิงวัฒนธรรม

บทคัดย่อ

ศิลปะอีโรติก (Erotic Art) แนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงาน โดยมีเรื่องเพศซึ่งเป็นพื้นฐานความต้องการ
ทางธรรมชาติของมนุษย์สังคมและวัฒนธรรมสร้างข้อก าหนดบางอย่างขึ้น โดยทุกสังคมสามารถแสดงออกได้
มากหรือน้อยแตกต่างกัน ศิลปะอีโรติก ล้วนสอดแทรกอยู่ในทุกสังคม ทุกชนชั้น ซึ่งแล้วแต่เจตนาของศิลปิน
ในแต่ละประเทศจะเป็นผู้สร้างสรรค์ไว้ ทั้งนี้อาจมาจากแรงขับที่เกิดจากความต้องการ ความปรารถนาในด้าน
ของความรัก ความรู้สึกที่ต้องการแสดงออก โดยเนื้อหาจะถูกจ าลองรูปแบบทางเพศอย่างชัดเจน การโป๊
เปลือย การร่วมรัก ศิลปะอีโรติกนั้นจึงเป็นศิลปะที่มีคุณค่าในเชิงวัฒนธรรมและเชิงประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาใน
แต่ละยุคแต่ละสมัย เนื่องจากเป็นเรื่องของอารมณ์และรสนิยม ท าให้การก าหนดค่าว่าสิ่งใดคือศิลปะนั้นไม่มี
กฎเกณฑ์ที่ตายตัว และสามารถสร้างสรรค์ผลงานได้ทั้งงานจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ วาดเส้น จนถึง
งานถ่ายภาพเป็นต้น

References

ชัยยศ อิษฏ์วรพันธุ์. (2552) คัทซึชิคะ โฮะคุไซ. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์สารคดีภาพ

ชัยยศ อิษฏ์วรพันธุ์. (2554). “อุกิโยเอะ” ในวารสารญี่ปุ่นสาร ฉบับที่ 71 กรกฎาคม – กันยายน.

กรุงเทพมหานคร : สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษาฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ชัยยศ อิษฎ์วรพันธ์. (2558). บริบททางสังคมวัฒนธรรมของภาพชุนกะ. กรุงเทพฯ : ทวีวัฒน์การพิมพ์

ธเนศ วงศ์ยานนาวา. (2553). “เมื่อไม่มีขน ฉันจึงเป็นศิลปะ” ในนิตยสารมติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 24 –

ธ.ค. กรุงเทพมหานคร : ส านักพิมพ์มติชน.

นิวัติ กองเพียร. (2541). เชิงสังวาส กามรูปในภาพเขียนตามประเพณีที่มีเสียงวรรณคดีไทย.

กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์มติชนบางกอกวาไรตี้. “10 เรื่องควรรู้เกี่ยวกับคัมภีร์เซ็กซ์ “กามสูตร”(2563). สืบค้นเมื่อ 25 เมษายน 2563. จาก https://www.bkkvariety.com/๓๖๓

ภานุ บุญพิพัฒนพงษ์. “Shunga ศิลปะเชิงสังวาสของญี่ปุ่น ในยุคสมัยที่เรื่องเพศไม่ถูกมองเป็นเรื่องลามก”

(2563) สืบค้นเมื่อ 26 เมษายน 2563. จากhttps://travel.mthai.com

ยุวดี. “ทฤษฎีความรัก Theories of Love” (2563) สืบค้นเมื่อ 30 เมษายน 2563.

จาก https://teen.mthai.com/love

วิบูลย์ลี้สุวรรณ. (2557). “พินิจกามิกศิลป์” ในจดหมายข่าวราชบัณฑิตยสถาน กรุงเทพมหานคร : ฝ่ายช่วย

อ านวยการและประชาสัมพันธ์ส านักงานเลขานุการกรม ราชบัณฑิตยสถาน. หน้า 4.

วสันต์ สิทธิเขตต์. ศิลปะเพื่อการเคลือนไหวสังคม. (2563). สืบค้นเมื่อ 26 เมษายน 2563.

จากhttps://www.youtube.com

วารยา. ศิลปวัฒนธรรม. (2563). สืบค้นเมื่อ 26 เมษายน 2563. จาก https://www.silpa-mag.com

ศิลปวัฒนธรรม. กามสูตร. (2563). สืบค้นเมื่อ 22 เมษายน 2563. จาก https://www.silpa-mag.com

สมเกียรติ ตั้งนโม. ความเป็นมาเกี่ยวกับเรื่องโป๊-เปลือย-ลามก-อนาจาร. (2563). สืบค้นเมื่อ 24 เมษายน

จาก http://v1.midnightuniv.org

เสฐียรพงษ์ วรรณปก. รื่นร่ม รมเยศ : เทวดาแก้ผ้า. (2563). สืบค้นเมื่อ 26 เมษายน 2563.

จาก https://www.matichon.co.th

หนึ่งธิดา. (2546). กุสตาฟ คลิมต์ (Gustav Klimt). กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์พิราบ

Dinhin,artchive. : Egon Schiele. (2563). สืบค้นเมื่อ 26 เมษายน 2563. จาก http://dinhin2503.blogspot.com

Erotic . Finding Knowledge Foundation. (2563). สืบค้นเมื่อ 22 เมษายน 2563.

จาก https://www.facebook.com/jadeencyclopedia

Geonni banner. “Shunga Is Not Simply Porn”(2563). สืบค้นเมื่อ 26 เมษายน 2563.

จาก http://atpeacewithpink.blogspot.com

Jeanette Zwingenberger.(2001). Egon Schiele. new York : parkstone

MGR Online. "เจ้าพ่อภาพเขียนอิโรติค" แห่งญี่ปุ่น” (2563). สืบค้นเมื่อ 26 เมษายน 2563.

จาก https://mgronline.com

Oporshady. “ขะชุรโห วิหารอีโรติก ศิลปะกามสูตรแห่งการหลุดพ้น” (2563).

สืบค้นเมื่อ 23 เมษายน 2563. จากhttps://travel.mthai.com/

Timon Screech. (1999 ). Floating World: Japan in the Edo Period. London England:

British Museum

Wikipedia. “Shunga”(2563). สืบค้นเมื่อ 22 เมษายน 2563.

จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Shunga

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-31