การออกแบบสื่อศิลปะบำบัดความเครียดเพื่อส่งเสริม สุขภาวะจิตในวัยทำงาน

ผู้แต่ง

  • พรนภา สุขมูลศิริ สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • รุ่งนภา สุวรรณศรี สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

คำสำคัญ:

ศิลปะบำบัด, ความเครียด, สุขภาวะจิต

บทคัดย่อ

งานวิจัยการออกแบบสื่อศิลปะบำบัดความเครียดเพื่อส่งเสริมสุขภาวะจิตในวัยทำงาน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ศึกษาพฤติกรรมความเครียดในวัยทำงานและสื่อบำบัดความเครียด 2) เพื่อออกแบบสื่อศิลปะบำบัดความเครียดในวัยทำงาน 3) เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะจิตจากศิลปะบำบัดความเครียด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยได้แก่ กลุ่มวัยทำงานอายุ 20 ปีขึ้นไป จำนวน 50 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถามและแบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสร้างข้อสรุปจากแบบสัมภาษณ์และแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าร้อยละและค่าเฉลี่ยความพึงพอใจต่อสื่อศิลปะบำบัดความเครียดในวัยทำงาน

References

ณรงค์ สุภัทรพันธุ์. (2560). ศาสตร์และศิลป์ของการสัมภาษณ์ทางจิตเวชศาสตร์. กรุงเทพฯ: สามเจริญพาณิชย์(กรุงเทพ) จำกัด

ปิยะแสง จันทรวงศ์ไพศาล.(2559). นัยยะแห่งจิตวิญญาณสู่บริบททางศิลปะ. วารสารศิลป์ พีระศรี.2559,1 (เมษายน),191

พริ้มเพรา ดิษยวณิช.(2544). การวาดภาพเพื่อการประเมินและการรักษา. เชียงใหม่: เชียงใหม่โรงพิมพ์แสงศิลป์

วาทินี สุขมาก. (2556). การพยามบาลสุขภาพจิตและจิตสังคม1. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

สุวนีย์ เกี่ยงกิ่งแก้ว. (2554). การพยามบาลจิตเวช. กรุงเทพฯ: มหาลัยธรรมศาสตร์.

สมพร ธุรี. การวิเคราะห์ทัศนศิลป์. กรุงเทพฯ: ทรัปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น, 2555.

อนุพันธุ์ พฤกษ์พันธ์ขจี. (2553) หนังสือรวบรวมบทความประชุมวิชาการ ศิลปะบำบัด : ในสถานะที่ไร้พรมแดน. กรุงเทพฯ: บริษัท มติชน จำกัด

กรมสุขภาพจิต. (2561). กรมสุขภาพจิต เผย “ ปัญหาเครียด”. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2564 2564. จาก www.prdmh.com

กรมสุขภาพจิต. (2545).สุขภาพจิต คืออะไร. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2564 .จาก www.dmh.go.th

กรุงเทพธุรกิจ.(2558).ปริศนา “เส้น-สี” ซ่อน “สุข”. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2564. จาก www.bangkokbiznews.com

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-18