การพัฒนาผลิตภัณฑ์พานธูปเทียนแพจากกระดาษฟางข้าว

ผู้แต่ง

  • วิจิตร สนหอม สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • วินัย ตาระเวช สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • จุฬาภรณ์ ศรีเมืองไหม สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • วรรณภา โรน์สุวณิชกร สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • พิมพ์วิภา เงาไพร สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

คำสำคัญ:

ผลิตภัณฑ์พานธูปเทียนแพ, กระดาษฟางข้าว

บทคัดย่อ

การพัฒนาผลิตภัณฑ์พานธูปเทียนแพจากกระดาษฟางข้าว มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาการประดิษฐ์ พานธูปเทียนแพจากกระดาษฟางข้าว สำรวจความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อ และทำการวิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติ นอกจากนี้ยังเน้นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรและเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับกระดาษฟางข้าว การประดิษฐ์พานธูปเทียนแพจากกระดาษฟางข้าว โดยผ่านกระบวนการ การนำเทคนิคการประดิษฐ์ในรูปแบบของการตอก การตัด การติด การร้อย การมัด และสำรวจความพึงพอใจของผู้บริโภคจำนวน 110 คน ผลการวิจัยพบว่าการสำรวจความพึงพอใจผลิตภัณฑ์พานธูปเทียนแพจากกระดาษพางข้าว ที่มีต่อผลิตภัณฑ์พานธูปเทียนแพจากกระดาษฟางข้าว ความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดเฉลี่ย ( gif.latex?\bar{x} =4.58) รองลงมา คือ รูปทรงมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากเฉลี่ย (gif.latex?\bar{x} =4.50) ความปราณีตสวยงามอยู่ในระดับมากเฉลี่ย ( gif.latex?\bar{x} =4.46) ประโยชน์ในการใช้งานอยู่ในระดับมากเฉลี่ย ( gif.latex?\bar{x} =4.43) ความเหมาะสมในการออกแบบอยู่ในระดับมากเฉลี่ย ( gif.latex?\bar{x} =4.42) ความเหมาะสมในการออกแบบอยู่ในระดับมากเฉลี่ย ( gif.latex?\bar{x} =4.26) ความเหมาะสมในการผสมผสานวัสดุที่ใช้ในการประดิษฐ์อยู่ในระดับมากเฉลี่ย ( gif.latex?\bar{x} =4.27) และความคงทนต่อการนำไปใช้งานอยู่ในระดับมากเฉลี่ย ( gif.latex?\bar{x} =4.24) ตามลำดับ

References

กุลนิดา เหลือบจำเริญ. (2553). องค์ประกอบศิลป์. ปทุมธานี: สกายบุคส์.

กรุงเทพธุรกิจ.(2565).ฟางข้าวประโยชน์มากกว่าที่คิด คิดสักนิดก่อนเผา.สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย. https://www.bangkokbiznews.com/columnist/991531. (วันพฤหัสบดี ที่ 2 มิถุนายน 2565)

จินตนา มีเนาว์, ขวัญนภา รามิฬ, ชญาณี สำนักดี และสุณิษา อ่อนอรรถ. (2559). พานธูปเทียนแพจากใบลาน. วิทยาลัยเทคนิคปราจีนบุรี.

พินิจกานต์ อารีวงษ์ และวรรณิษา นาคแกมทอง. (2555). การผลิตเยื่อกระดาษฟางข้าวด้วยวิธีทางชีวภาพร่วมกับกรรมวิธีโซดา. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาชีววิทยา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

เทศบาลตำบลหาดเสี้ยว. (2551). สืบเชื้อสายไทยพวนบ้านหาดเสี้ยว. สุโขทัย: เทศบาลตำบลหาดเสี้ยว.

บุญชม ศรีสะอาด. 2535. หลักการวิจัยเบื้องต้น. พิมพครั้งที่ 3 กรุงเทพ ฯ : สุวีริยาสาสน.

ประทับใจ สุวรรณธาดา และ ศักดิ์ชาย สิกขา.(2561).การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนโดยใช้ทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญา : ในเขตพื้นที่ภาคอีสานตอนบน. วารสารวิชาการศิลปะสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2561: 137

ประเสริฐ พิชยะสุนทร. (2557). ศิลปะและการออกแบบเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มณีรัตน์ จันทนะผะลิน. (2525). มรดกไทย เล่มที่ 3 งานใบตอง. กรุงเทพฯ: คณะวิชาวิทยาศาสตร์. วิทยาลัยครูสวนดุสิต.

รัตนลักษณ์ ปัญจวุฒิพัฒน์. (2547). งานดอกไม้สดในวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: เศรษฐศิลป์.

วิจิตร สนหอม. (2554). การพัฒนากระดาษกกเพื่อใช้ในงานประดิษฐ์. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (คหกรรมศาสตร์เพื่อพัฒนาชุมชน) มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

Likert, Rensis A. (1961). New Patterns of Management. New York: McGraw-Hill Book Company.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-17