การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์จากแนวคิดการลอกเลียนธรรมชาติ กรณีศึกษาอุปกรณ์ปลูกผัก

ผู้แต่ง

  • สมชาย ดิษฐาภรณ์ สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
  • เสน่ห์ สำเภาเงิน สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
  • วีรพล หวังเจริญ สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

คำสำคัญ:

การลอกเลียนธรรมชาติ, อุปกรณ์ปลูกผัก, เทคโนโลยีการพิมพ์สามมิติ, พลาสติกพีเอลเอ, ระบบโมดูลาร์

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาอุปกรณ์ปลูกผักจากแนวคิดการลอกเลียนธรรมชาติ 2) เพื่อออกแบบอุปกรณ์ปลูกผักจากแนวคิดการลอกเลียนธรรมชาติ และ 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจต้นแบบอุปกรณ์ปลูกผักจากแนวคิดการลอกเลียนธรรมชาติ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้พักอาศัยในห้องพักบ้านบอลลูน กรุงเทพมหานคร จำนวน 30 คน โดยการสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือวิจัยใช้แบบสอบถาม จำนวน 2 ชุด เป็นการวิจัยเชิงปริมาณโดยเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ตัวแปรเป็นค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1) แนวทางการพัฒนา
1 อาจารย์สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
2 อาจารย์สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
3 นักศึกษาหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรุงเทพ

อุปกรณ์ปลูกผัก ประยุกต์ขั้นตอนเริ่มจากเลือกรูปทรงจากธรรมชาติ ต่อมาศึกษาสัดส่วนแล้วลดทอนรายละเอียด จากนั้นออกแบบรูปทรงด้วยปัจจัยหรือหลักในการออกแบบและเลือกแบบขั้นสุดท้าย กระบวนการผลิตใช้เทคโนโลยีการพิมพ์สามมิติระบบฉีดเส้นพลาสติก วัสดุใช้พลาสติกประเภทพีแอลเอ และเพิ่มระบบแสงไฟแอลอีดีรวมทั้งระบบโมดูลาร์ 2) ผลการออกแบบอุปกรณ์ปลูกผัก พบว่า รูปแบบ ที่ใช้แรงบันดาลใจจากผลอะโวคาโดมีความเหมาะสมมากที่สุด โดยมีความเหมาะสมในระดับมาก (gif.latex?\bar{x} = 3.91, S.D. = 0.77) ตัดทอนรูปทรงเป็นวงรีแบบไม่สมมาตรทั้งหมด 3 ขนาด ซึ่งสามารถวางซ้อนกันหรือวางแยกกันได้ และใช้ระบบน้ำเพื่อให้ผักเจริญเติบโต และ 3) ผลการประเมินความพึงพอใจต้นแบบอุปกรณ์ปลูกผักจากกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ผลรวมทุกด้านมีความพึงพอใจในระดับมาก (gif.latex?\bar{x} = 3.69, S.D. = 0.61)

References

คณิต สุขรัตน์ และดุสิต อธินุวัฒน์. (2562). การศึกษาพฤติกรรมการบริโภคและทัศนคติของผู้บริโภคสินค้าอินทรีย์. Thai Journal of Science and Technology, 9(1), 68-76.

ชาคริต นิลศาสตร์. (2559, 23 กุมภาพันธ์). Biomimicry ลอกเลียนเพื่อเปลี่ยนชีวิต. ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC). https://www.tcdcmaterial.com/th/article/technology-innovation/24534

ณปภัช จันทร์เมือง. (2560). การใชเทคโนโลยีการพิมพสามมิติในการสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์. วารสาร ครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 16(2), 190-198.

ตระกูลพันธ์ พัชรเมธา. (2557). การออกแบบผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 34(1), 119-136.

เต็มสิริ หวังทวีทรัพย์. (2560). อะไรเอ่ย BIOMIMICRY. วารสารเทคโนโลยีวัสดุ, 86, 24-28.

ทรงวุฒิ เอกวุฒิวงศา. (2558). การคิดเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. ห้างหุ้นส่วนจำกัดมีน เซอร์วิสซัพพลาย.

ทศพล งามวิไลลักษณ์, เกรียงศักดิ์ เขียวมั่ง และอภิสักก์ สินธุภัค. (2559). ระบบโมดูลาร์เพื่อการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ภายในห้องครัวไทยขนาดเล็ก. วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา, 10(2), 69-79.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2563). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS (พิมพ์ครั้งที่ 18). ห้างหุ้นส่วนสามัญบิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.

ธิดาสิริ ภัทรากาญจน์. (2551). สถาปัตยกรรมจากรูปทรงธรรมชาติ. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปิยวรรณ ปนิทานเต. (2560). การวิเคราะห์ทดสอบวัสดุและผลิตภัณฑ์ในกระบวนการผลิตแบบเพิ่มเนื้อวัสดุ. วารสารเทคโนโลยีวัสดุ, 85, 37-45.

ปิยวรรณ ปนิทานเต. (2561). นวัตกรรมสุดเจ๋งที่ได้รับแรงบันดาลใจจากสัตว์. วารสารเทคโนโลยีวัสดุ, 86, 43-48.

พัทธ์ธิดา โสธรประภากร. (2560, 21 ธันวาคม). เจ๋งได้ง่าย ๆ ด้วยระบบ Modular. Neverland Effects. http://www.neverlandeffects.com/how-to/

เพชร มโนปวิตร. (2561). Circular Economy. นิตยสาร "คิด" Creative Thailand, 10(2), 14-19.

มณฑลี ศาสนนันทน์. (2550). การออกแบบผลิตภัณฑ์ เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมและวิศวกรรมย้อยรอย (พิมพ์ครั้งที่ 2). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

มรกต รอดพึ่งครุฑ. (2564). Plant Factory เทรนด์การเพาะปลูกแห่งอนาคต. นิตยสาร "คิด" Creative Thailand, 12(6), 6-7.

วัชรินทร์ จรุงจิตสุนทร (2548). หลักการและแนวคิดการออกแบบผลิตภัณฑ์. แอ๊ปป้า พริ้นท์ติ้ง กรุ๊ป จำกัด.

ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ. (2558). งานวิจัยกึ่งสำเร็จรูป Talent Mobility. ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC). https://web.tcdc.or.th/th/publication/detail/Free-eBook-Talent-Mobility-Matching-Lab-with-Design-Business-

สิริยุภา เนตรมัย. (2562, 9 ตุลาคม). Biodegradable plastic พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ. มหิดล แชนแนล (Mahidol Channel).

https://youtu.be/NQ44FZ-OsgU

สิทธิพงศ์ วงศ์ไชยสุวรรณ. (2560). การออกแบบเครื่องเรือนเซรามิกระบบโมดูลาร์ เพื่อตอบสนองรสนิยมผู้พักอาศัยในอาคารชุด. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 9(2), 35-52.

สุวัฒน์ วงษ์จำปา. (2560). 3D Printing สุดยอดนวัตกรรมทางเทคโนโลยีการพิมพ์. นิตยสารสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 45(208), 22-26.

Anzabi, N. (2016). Nature Inspired Clothing Design Based on Biomimicry. INTAN Management Journal, 12, 241-251.

Aziz, M.S. & El Sherif, A.Y. (2016). Biomimicry as an approach for bio-inspired structure with the aid of computation. Alexandria Engineering Journal, 55(1), 707-714.

Benyus, J. (2002). Biomimicry: Innovation inspired by nature. Harper Perennial.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-17