จินตภาพใหม่ในการออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมแฝก

ผู้แต่ง

  • ชมขวัญ บุตรเวียงพันธ์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

หัตถกรรม, หญ้าแฝก, ผลิตภัณฑ์หญ้าแฝก

บทคัดย่อ

บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อหาแนวทางการสร้างจินตภาพใหม่ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ หัตถกรรมแฝกโดยการศึกษาข้อมูลจากเครือข่ายคนรักษ์แฝก กลุ่มชุมชนและครูภูมิปัญญาด้านหัตถกรรม เกี่ยวกับรูปแบบ ลวดลาย สีสัน วิธีการ และเทคนิคต่างๆ ของการขึ้นรูปโครงสร้างผลิตภัณฑ์หัตถกรรม แฝก โดยการถอดประสบการณ์จากการทดสอบ ทดลองเส้นใยธรรมชาติ การวิเคราะห์คุณสมบัติ และ การประยุกต์ใช้ร่วมกับเส้นใยแฝกในวิธีการต่างๆ ซึ่งรูปแบบของผลิตภัณฑ์หัตถกรรมดังกล่าว เป็นการสร้างรับรู้ตามความคิด ความรู้สึกให้เกิดการตีความหมายใหม่หรือรับรู้ในแบบใหม่ เพื่อให้ การผลิตหัตถกรรมแฝกของชุมชนมีความยั่งยืน มีกระบวนการคิดสร้างสรรค์ที่คิดวิเคราะห์และ ประยุกต์ใช้ตามความวิถีชุมชนที่มุ่งเน้นให้คนไม่มีฝีมือสามารถออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตกรรม แนวทางใหม่

References

นวลน้อย บุญวงษ์. (2542). หลักการออกแบบ. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน). (2551). โครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ. บริษัท พรรณี จำกัด.

ปัทมาพร สงวนทรัพย์. (2561). การศึกษาจินภาพการสะท้อนในวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในเขตสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25[วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม.

วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. (2539). เครื่องจักสานในประเทศไทย. โอเดียนสโตร์.

ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ. เส้นใย (Fibers). (2561, 13 ธันวาคม) http://www2.mtec.or.th/th/research/ textile/textile sci.html

สายฝน จำปาทอง. (2565). การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ หัตถกรรมประเภทของใช้ที่ผลิตจากการ ประสานจากเส้นใย ธรรมชาติ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สุชาติ เถาทอง. (2562). วิธีคิดทางศิลปะออกแบบขั้นสูง. บางแสนการพิมพ์.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-27