Study of New Normal Behaviors of Students in the COVID-19 Situation.

Main Article Content

สิริรัตน์ ช่อฉาย

Abstract

The objective of this research is to study the New Normal behaviors of students at Satri Wat Rakhang School in the COVID-19 situation and compare the behaviors to different levels of education.  Samples were taken from 440 students by using online survey as a tool. The analysis was performed by using frequency, percentage, mean and standard deviation. The result indicates that the New Normal behaviors of students in the COVID-19 situation overall is in high level (= 3.88). Hypothesis testing suggests that the degree of students’ New Normal behaviors has a statistically significant variation at .05 among students with different educational levels.

Article Details

How to Cite
ช่อฉาย ส. (2021). Study of New Normal Behaviors of Students in the COVID-19 Situation. RBRU Journal of Humanities and Social Sciences (online), 2(1), 1–14. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/husorbrujournal/article/view/247929
Section
Research Article

References

กรมสุขภาพจิต. (2563). เทรนด์พฤติกรรมแบบ New Normal กับชีวิตวิถีใหม่ของคนไทย. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://www.dmh.go.th/covid19/. (7 พฤศจิกายน 2563).

จันทนี เจริญศรี. (2563). ข้อมูลพฤติกรรมชีวิตวิถีใหม่. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://thailand-property-news.knightfrank.co.th/2020/05/07/7-new-normal-. (7 พฤศจิกายน 2563).

ชีวานนท์ ปิยะพิทักษ์สกุล. (2563). ผลสำรวจผู้บริโภคคนไทยในช่วงเวลากักตัวจากช่วงล็อกดาวน์ประเทศจากการแพรระบาดของไวรัส COVID-19. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://positioningmag.com/1278023. (7 พฤศจิกายน 2563).

ณัธภัชร เฉลิมแดน. (มกราคม-พฤษภาคม 2563). “พฤติกรรมผู้บริโภคในการสั่งอาหารแบบเดลิเวอรี่ผ่านโมบายแอปพลิเคชัน ช่วงเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ในเขตกรุงเทพมหานคร,” Journal of Industrial Business Administration. 2(1) : 92-106.

เบญจพร ธิหลวง. (มกราคม-พฤษภาคม 2558). “พฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ในอำเภอดอยหล่อจังหวัดเชียงใหม่,” Journal of Graduate Research. 6(1) : 77-91.

ปรารถนา พลอภิชาติ. (2553). โมเดลเชิงสาเหตุของความลังเลใจในการเลือกประกอบอาชีพของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณทิต คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระปุญญาพัฒน์ แสงวงค์ดี. (มกราคม-เมษายน 2563). “วิกฤติการณ์โลกกรณีการแพร่ระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ : บทบาทขององค์การอนามัยโลก สถานการณ์ในประเทศไทย และ New Normal,” JOURNAL OF SOCIAL SYNERGY. 11(1) : 88-108

รจเรข สายคำ และวัฒนา พัดเกตุ. (กรกฎาคม 2560). “ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในเขตภาคเหนือตอนล่าง,” นเรศวรวิจัย ครั้งที่ 13: วิจัยและนวัตกรรม ขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคม 1348-1358.

วิวัฒน์ โรจนพิทยากร. (มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563). “ภาคการศึกษากับความรอบรู้ทางสุขภาพ,” วารสารวิชาการสาธารณสุข. 29(4) : 575-577.

สำนักวิจัยซูเปอร์โพล (SUPER POLL). สถาบันวิจัยความสุขชุมชนและความเป็นผู้นำ. (2563). การสำรวจจริตใหม่ประชาชนหลังพ้นโควิด-19. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://www.egat.co.th/egattoday/egattoday/. (7 พฤศจิกายน 2563).

เสาวภา วิชาดี. (ตุลาคม – ธันวาคม 2554). “รูปแบบการเรียนของผู้เรียนในมุมมองของทฤษฎีการเรียนรู้แบบประสบการณ์,” วารสารนักบริหาร. 31(1) : 175 - 180.