การศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายเกษตรพันธสัญญาของประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวเพื่อรองรับการค้าสินค้าเกษตรภายใต้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

Main Article Content

สุรินรัตน์ แก้วทอง

Abstract

            The purpose of this research is to study and analyze the contract farming laws of Thailand and Laos. The Legal Guide for Contract Farming created by UNIDROIT was used as a recourse in identifying the proper rules or laws applying to Thailand under the ASEAN Economic Community.


        The research method was documentary, including the study of books, Thai laws, journals, and cases from both Thai and international sources. This study presents an analysis of the laws and a description of the issues identified by the author regarding contract farming between these two countries pursuant to the law of UNIDROIT.


        This study found that contract farming in Thai and Laos is done by agreement between entrepreneurs and agriculturists, and that these agreements often display an inequality of bargaining power. It appears that under the ASEAN Economic Community, Thailand and Laos seem to be experiencing the same problems in contract farming. In addition, the study found that Thailand and Laos have no laws or measures in place that address the issue of bargaining power. The problems include a lack of specialized agriculture organizations that would serve to control and monitor agricultural contracts. By way of comparison, the Legal Guide for Contract Farming from UNIDROIT may be used to solve the problems of inequality or exploitation in contract farming. As a result of this, the author proposes the promulgation of a Contract Farming Act, with provisions for a Contract Farming Committee and a Contract Farming Department as parts of the Ministry of Agriculture and Cooperatives. This committee and department would have the main duty to monitor and solve the problems of contract farming and support contract farming as a tool to push agricultural policies from the government, in cooperation with entrepreneurs and agriculturists within the ASEAN Economic Community. Moreover, the government should provide a legal guide for contract farming in ASEAN, for use by other ASEAN members as well. 

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Article)

References

เข็มชัย ชุติวงศ์ และบวรศักดิ์ อุวรรณโณ. คำอธิบายกฎหมายว่าด้วยนิติกรรมสัญญา. พิมพ์ครั้งที่ 3.
กรุงเทพมหานคร: ฝ่ายตำราคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2522.
จรัญ ภักดีธนากุล. “สรุปสาระสำคัญพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ.2540.” เอกสารเพื่อนำเสนอคณะกรรมการวิชาการศาลอุทธรณ์ตรวจพิจารณาเพื่อใช้ในการประชุมผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์, 2541.
. “พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ.2540.” ดุลพาห 45 (มกราคม 2541): 6.
ฉันทนา เจริญศักดิ์. สัญญาที่เป็นธรรมในระบบเกษตรพันธสัญญา. กรงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัย-ธรรมศาสตร์, 2551.
จิติ ติงศภัทิย์. คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 2 มาตรา 354-452. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2526.
จิ๊ด เศรษฐบุตร. หลักกฎหมายแพ่งลักษณะนิติกรรมและหนี้. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เอราวัณการพิมพ์, 2522.
จำปี โสตถิพันธุ์. หลักกฎหมายนิติกรรมสัญญา. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2538.
ไชยยศ เหมะรัชตะ. กฎหมายว่าด้วยนิติกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์-มหาวิทยาลัย, 2535.
สุพจน์ เด่นดวง. “การศึกษาสภาพการทำงานเกษตรอุตสาหกรรมของแรงงานนอกระบบกับปัญหาสุขภาพ: เกษตรรายย่อย เกษตรพันธะสัญญาและแรงงานรับจ้างในภาคการเกษตร.” คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหิดล, 2550.
ดาราพร ถิระวัฒน์. กฎหมายสัญญา: สถานะใหม่ของสัญญาปัจจุบันและปัญหาข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2538.
บุศรา ลิ้มนิรันดร์กุล และคณะ. เกษตรพันธสัญญากับโอกาสการพัฒนาเกษตรรายย่อย. รายงานการประชุมวิชาการ ปี 2549 ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร. เชียงใหม่: คณะเกษตร, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2549.
พอพันธุ์ คิดจิตต์. “แนวความคิดและผลกระทบเกี่ยวกับข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม.” นิตยสารกระทรวง-ยุติธรรม, ดุลพาห 40 (พฤศจิกายน-ธันวาคม 2536): 6.
รักษ์ศักดิ์ โชติชัยสถิต. “ประกันสังคมภาคประชาชน ก้าวผ่านประชาสงเคราะห์ ก้ามข้ามประชานิยมก้าวสู่สังคมสวัสดิการใหม่.” วารสารประกันสังคม 17 (เมษายน 2554): 4.
ลาวัณย์ ถนัดศิลปะกุล. “ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการเปิดเสรีการลงทุนของประเทศไทย.” วารสาร-กฎหมายสุโขทัยธรรมาธิราช (มิถุนายน 2552): 2.
สรวิศ ลิมปรังษี. “สัมผัสคดีดังต่างประเทศ ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม” นิตยสารกระทรวงยุติธรรม ดุลพาห 55 (มกราคม-เมษายน 2551): 1.
. “สัมผัสคดีดังต่างประเทศ ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม” นิตยสารกระทรวงยุติธรรม ดุลพาห 55 (กันยายน – ธันวาคม 2551): 3.
สิทธิชัย พัฒนสุวรรณ และคณะ. การศึกษาการพัฒนาเกษตรอุตสาหกรรมของแรงงานนอกระบบกับปัญหาสุขภาพ : เกษตรกรรายย่อย เกษตรพันธะสัญญา และแรงงานเกษตรรับจ้างในภาคการเกษตร. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2549.
สุเมธ ปานจำลอง, สัญญาที่ไม่เป็นธรรมและสวัสดิการที่ไม่เคยได้รับจากรัฐและนายทุน [Online]. Available URL: https://www.sathai.org/autopagev4/ show_page.php?topic_ id=367&auto_id=24&TopicPk=, 2555 (February, 13).
เสนีย์ ปราโมช. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมและหนี้ เล่มที่ 3. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แสวงสุทธิการพิมพ์, 2522.
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. การลงทุน Contract Farming (CF) หรือการผลิตสินค้าเกษตรแบบมีสัญญาที่เห็นผลเป็น รูปธรรม [Online]. Available URL: https://www.oae.go.th, 2558 (มีนาคม, 10).
ศักดิ์ สนองชาติ. คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมสัญญา, พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์บพิธการพิมพ์, 2522.
อักขราทร จุฬารัตน์. คำอธิบายวิชากฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรม, พิมครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เฟสท์การพิมพ์, 2520.
Baumann, P. Equity and efficiency in contract farming schemes: The experience of agricultural tree crops [Online]. Available URL: https://www.odi.org/ sites/odi.org.uk/files/ odi-assets/publications-opinion-files/2730.pdf, 2000 (April, 14).
Carlos Arthur B. da Silva. The Growing Role of Contract Farming in Agri-food systems Development: Drivers, Theory and Practice [Online]. Available URL:https://www.fao.org/sustainable-food-value-chains/library/details/en/ c/266526/, 2008 (May, 24).