A Conceptual Framework of the Causal Relationship Model of Factors Influencing the Development of Local Administrative Organizations into High Performance Organizations in Thailand กรอบแนวคิดรูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูงในประเทศไทย

Main Article Content

Surasak Chamaram

Abstract

บทความชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อทบทวนวรรณกรรมและกำหนดสมมติฐานการวิจัยที่นำไปสู่การนำเสนอกรอบแนวคิดรูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูงในประเทศไทย ซึ่งผลจากการทบทวนวรรณกรรมพบประเด็นสำคัญที่ควรทำการทดสอบดังนี้คือ 1) องค์ประกอบของการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูงประกอบด้วยจำนวน 6 ตัวแปรคือ (1) คุณภาพการจัดการทั่วทั้งองค์การ (2) การมุ่งเน้นการปฏิบัติและการเปิดกว้าง (3) การมุ่งเน้นเป้าหมายระยะยาว (4) ความสามารถในการปรับปรุงและคิดค้นนวัตกรรมท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง (5) คุณภาพของระบบการจัดการทรัพยากรบุคคล และ (6) ความพร้อมยอมรับต่อการเปลี่ยนแปลงของบุคลากรท้องถิ่น และ 2) รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูงมีดังนี้คือ (1) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง (2) วัฒนธรรมองค์การมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง (3) โครงสร้างและการออกแบบองค์กรมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง และ (4) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงมีอิทธิพลทางอ้อมเชิงบวกต่อการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูงโดยส่งผ่านวัฒนธรรมองค์การและโครงสร้างและการออกแบบองค์กร ซึ่งกรอบแนวคิดดังกล่าวนี้สามารถนำไปใช้ศึกษาและทดสอบกับข้อมูลเชิงประจักษ์ต่อไป

Article Details

How to Cite
Chamaram, S. (2019). A Conceptual Framework of the Causal Relationship Model of Factors Influencing the Development of Local Administrative Organizations into High Performance Organizations in Thailand: กรอบแนวคิดรูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูงในประเทศไทย. RMUTP Research Journal Humanities and Social Sciences, 4(1), 102–115. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/rmutphuso/article/view/147081
Section
Academic Articles

References

ดิเรกฤทธิ์ เจนครองธรรม. (2558). การพัฒนาสำนักงานศาลปกครองสู่องค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง. ดุษฎีนิพนธ์
ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
นรวัฒน์ ชุติวงศ์. (2554). การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิผลต่อการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมในประเทศไทย. วารสาร
บริหารธุรกิจ, 34(130): 47-58.
บังอร บรรเทา. (2558). การบริหารงานบุคคลขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอเชียงยืนจังหวัดมหาสารคาม.
วารสารการเมืองการปกครอง. 6(1): 284-300.
ปัณฑารีย์ ฟองแพร่. (2559). ปัจจัยมีผลต่อการพัฒนาองค์กรให้มีศักยภาพการทำงานสูง:กรณีศึกษาธนาคารยูโอบี.
งานนิพนธ์ปริญญาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจโลก วิทยาลัย
พาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
พัชราภรณ์ มาสุวัตร์, ช่อเพชร เบ้าเงิน และสุรพล น้อยแสง. (2559). รูปแบบของปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อ
ประสิทธิผลของโรงเรียนในฝัน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิจัยและ
พัฒนาวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 11(1): 221-230.
ศศิรัศมิ์ ประสาทแก้ว. (2556). ปัจจัยเชิงสาเหตุพหุระดับในการพัฒนามหาวิทยาลัยสู่องค์กรสมรรถนะสูงแบบ
บูรณาการพหุมิติศึกษากรณีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยทักษิณและ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาวะผู้นำทางการบริหาร
การศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ.
เสน่ห์ จุ้ยโต. (2556). องค์การทริปเปิ้ลเอช: ตัวแบบใหม่การบริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสู่ความเป็นเลิศ.
นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เสน่ห์ จุ้ยโต. (2557). การพัฒนาตัวแบบการบริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสู่องค์การสมรรถนะสูง. รายงานการ
วิจัยฉบับสมบูรณ์ของสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สุพรรษา เศษแสงศรี และสุรศักดิ์ ชะมารัมย์. (2557). การพัฒนาองค์การสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูงของ
สำนักงานจัดหางานจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ของคณะนิติ
รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด.
สุปัญญาดา สุนทรนนธ์. (2558).ปัจจัยภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และความพร้อมสำหรับ
การเปลี่ยนแปลงที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ. วารสาร
ปัญญาภิวัฒน์, 7 (2): 28-42.
American Management Association. (2006). How to build a High-Performance
organization. Retrieved May 22, 2017, from
https://www.amajapan.co.jp/e/pdf/HRI_HIGH-ERFORMANCE_Organization.pdf.
Buytendijk, F. (2006). Five keys to building high performance organization.
Retrieved May 22, 2017, from https://businessfinancemag.com/business-
performance-management/five-keys-building-high-performance-organization/.
Gupta, Vipin . (2011) .Cultural basis of high performance organizations. International Journal of
Commerce and Management, 21(3): 221-240.
Holbeche, Linda. (2005). The High Performance Organization; Creating dynamic stability and
sustainable success. Oxford: Butterworth-Heinemann.
Kim, J. & Bang, S. C. (2013). What are the top cultural characteristics that appear in high-
performing organizations across multiple industries?. Cornell University.
Kroeber, A.L. and Kluckhohn, C. (1952). Culture A Critical Review of Concepts and Definitions.
Peabody Museum, Cambridge, MA, 181.
Mushinsky, Paul M. (1997). Psychology applied to work an introduction to industrial and
organizational psychology. California: Brooks/Cole.
Nuchudom, Chaleampol and Fongsuwan, Wanno. (2015). Factors Affecting High Performance
Organizations Within Bangkok’s Metropolitan Administration (BMA) Government Offices.
Research Journal of Business Management, 9(1): 141-156.
Robbins, S. P. (1990). Organization theory: Structure design and application. Upper Saddle River,
NJ: Prentice Hall.
Root II, George N.. (2018). Elements of Efficient Organizational Structure. Retrieved May 22, 2018,
from https://smallbusiness.chron.com/elements-efficient-organizational-structure-
172.html.
Sangomek, Prasit and Ratanakomut, Somchait. (2010). Criteria Factors of High Performance
Organization (HPO) in the Air Force. Journal of Alternative Perspectives in the Social
Sciences. 2(2): 706- 724.
Schultz, Duane P. & Schultz, Sydney Ellen. (1998). Psychology and Work Today: An Introduction
to Industrial and Organizational Psychology. 7thed. Upper Saddle River, New Jersey: Prentice- Hall.
Spencer-Oatey, H. (2012). What is culture? A compilation of quotations. GlobalPAD Core
Concepts. Available at GlobalPAD Open House.
Tojari, Farshad, Heris, Mahboub Sheikhalizadeh and Zarei, Ali. (2011). Structural Equation Modeling
Analysis of Effects of Leadership Styles and Organizational Culture on Effectiveness in
Sport Organizations. African Journal of Business Management. 2(21), 8634-8641.
Waal, Andre´de. (2012). Applicability of the high performance organization framework in the Middle
East: The case of Palestine Polytechnic University. Education,
Business and Society: Contemporary Middle Eastern Issues, 5(3): 213-223.
Waal, Andre´de and EIJDEN, BÉATRICE I.J.M. VAN DER H. (2015). THE ROLE OF PERFORMANCE
MANAGEMENT IN CREATING AND MAINTAINING A HIGHPERFORMANCE ORGANIZATION.
Journal of Organization Design, 4(1): 1-11.
Willert, Klint Walter. (2012). Leadership for Excellence: A Case Study of Leadership Practices of
School Superintendents Serving Four Malcolm Baldrige National Quality Award Recipient School Districts. Education Doctoral Dissertations in Leadership. The School of Education University of St. Thomas.
Xenikou, Athena and Simosi, Maria. (2006). Organizational culture and transformational leadership
as predictors of business unit performance. Journal of Managerial Psychology, 21(6):
566-579.
Young, Nicole M. (2005). 5 Qualities of a High Performance Organization. Retrieved May 22, 2018,
from https://optisolutions.com/pdfs/5%20Qualities%20of%20a%20High%20Performanc e%20O rganization.pdf.