การพัฒนารูปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของผู้บริหารสำนัก/สถาบัน ในสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏ (A Development of Performance Appraisal Model in the Position of the Director of Rajabhat University)
คำสำคัญ:
การพัฒนารูปแบบ/ การประเมินการปฏิบัติงานบทคัดย่อ
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการปฏิบัติงานของผู้บริหารสำนัก/สถาบัน ในสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏ 2) สร้างรูปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของผู้บริหารสำนัก/สถาบัน ในสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏ และ 3) ทดลองใช้และประเมินคุณภาพรูปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของผู้บริหารสำนัก/สถาบันในสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏ ประชากรในการวิจัยคือสำนักและสถาบัน 5 หน่วยงานในสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคตะวันตก ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารและบุคลากร จำนวน 260 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้คือความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบ และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า สภาพการปฏิบัติงานของผู้บริหารสำนัก/สถาบันในสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยรวม
อยู่ในระดับมาก โดยรูปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของผู้บริหารสำนัก/สถาบันในสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏประกอบด้วย 2 องค์ประกอบคือด้านผลสัมฤทธิ์ของงาน และด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงาน ผลการทดลองใช้คู่มือและประเมินคุณภาพรูปแบบการประเมินการปฏิบัติงานของผู้บริหารสำนัก/สถาบัน ในสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏ พบว่าคู่มือมีประสิทธิภาพและผลการประเมินคุณภาพรูปแบบการประเมินการปฏิบัติงานจากผู้ใช้รูปแบบการประเมินร้อยละ 100 โดยเห็นว่ารูปแบบการประเมินมีความเป็นไปได้ มีความเหมาะสม ถูกต้อง และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงาน
References
sathān sưksā sangkat samnakngān khēt phư̄nthī kānsưksā. matthayommasưksā".
(Performance dictionary of school administrators Under the Office of Secondary
Education Area). Silpakorn Educational Research Journal 7 (2): 230 –41.
ขนิษฐา พลายเพ็ชร์. (2558). “พจนานุกรมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา”.วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย 7 (2): 230 - 241.
Thalangsi, K. (2554). Kānphatthanātūabongchī lækēkānpramœ̄nkhunnaphāpdānwichākān
Mahāwitthayālaihǣngchātlāo. (Indicator development And academic quality
assessment criteria National University of Laos). Doctor of Philosophy Dissertation Degree
Department of Management and Development College Mahasarakrm University.
คำแสง ทะลังสี. (2554). การพัฒนาตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพด้านวิชาการ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว.
ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม.
Phumrattana, C. (2556). (online). Suprāingānhō̜ngrīanklapdān. (Search on 1 June 2018). From
https://www.dailynews.co.th/education/202411
ชินภัทร ภูมิรัตน. (2556). (ออนไลน์). สรุปรายงานห้องเรียนกลับด้าน. (สืบค้นวันที่ 1 มิถุนายน 2561). จาก
https://www.dailynews.co.th/education/202411
Chucharoenphipat, N. (2556). Watthanathamnaiʻongkō̜nthīmīphontō̜kānpatibatngān
khō̜ngphanakngānthanākhān Thaiphānit Khētnakornsawan. (Corporate culture
that affects the performance of bank employees Siam Commercial Bank, Nakhon
Sawan District). Independent research, Master of Business Administration Degree
Management General Faculty of Business Administration Rajamangala University of
Technology Thanyaburi.
ณัฐธิดา ชูเจริญพิพัฒน์. (2556). วัฒนธรรมในองค์กรที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคาร
ไทยพาณิชย์ เขตนครสวรรค์. การค้นคว้าอิสระปริญญาการบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการ
ทั่วไป คณะบริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
Niamkunjara, T. (2555). Kānsangkhro̜phonkānpatibatngānkhō̜ngbuklākō̜ntāmʻatlaklæekkaluk
khō̜ngmahāwitthayālairātchaphatʻutdit. (Synthesis of personnel performance according to
identity and identity of Uttaradit Rajabhat University). Institutional research grants Uttaradit
Rajabhat University.
ธนัย เนียมกุญชร. (2555). การสังเคราะห์ผลการปฏิบัติงานของบุคลากรตามอัตลักษณ์และเอกลักษณ์
ของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. ทุนวิจัยสถาบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.
Sisaat, B., Sisaat, S. (2554). kānwičhai kīeokap kānbō̜rihān kānsưksā. Bangkok: Suriwiriyasan.
บุญชม ศรีสะอาด และสุรีทอง ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเกี่ยวกับการบริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร:
สุรีวิริยาสาส์น.
Ek wat, B., Chalœmwat, P. (2556). kānsưksā patčhai thī mī ʻitthiphon tō̜ samatthana kān patibat ngān
khō̜ng phanakngān ʻongkān bō̜rihānsūan tambon nai čhangwat pračhūap khīrī khan. (A study
of factors influencing job performance of the sub district administrative organization
employee’s in Prachuap Khiri Khan Province) Silpakorn Educational Research Journal 5 (1):
292 -–306.
เบญญาภา เอกวัตร และพิษณุ เฉลิมวัฒน์. (2556). “การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะการปฏิบัติงานของ
พนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์”.วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย 5 (1) :
292 - 306.
Sinlarat, P. (2543). čhampen tō̜ng patirangsankān sưksā Thai (3rd ed).
Bangkok: Faculty of Education Chulalongkorn University.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2543). จำเป็นต้องปฏิรังสรรค์การศึกษาไทย (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร:
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Chiraro, P. (2554). Lakkānwičhaithāngkānsưksā. Chonburi: Department of Research and
Applied Psychology, Burapa University.
พงศ์เทพ จิระโร. (2554). หลักการวิจัยทางการศึกษา. ชลบุรี: ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาประยุกต์, มหาวิทยาลัยบูรพา.
Sisangngam, P. (2550). Kānmīsūanrūamnaikitkamnaksưksākhō̜ngnaksưksākhanaratthasāt
Mahāwitthayālaipathumthānī. (Participation in student activities of the Faculty of Political
Science students Pathum Thani University). Sukhothai Thammathirat University.
ภารดี ศรีสังข์งาม. (2550). การมีส่วนร่วมในกิจกรรมนักศึกษาของนักศึกษาคณะรัฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยปทุมธานี. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
Nakhon Pathom Rajabhat University. (2560). Phǣnyutsātmahāwitthayālairātchaphat
nakhō̜npathom Pračhampīngoppramān BE 2557 - 2561. Policy and Planning Division, Nakhon Pathom Rajabhat University.
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. (2560). แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2557 – 2561. กองนโยบายและแผน, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
Ongwuthiwat, Y. (2561). Rūpbǣpkānchailakthammāphibānnaikānbō̜rihānsathānsưksā
Sangkatsamnakngān Khanakamkānkānʻāchīwasưksānaisāmčhangwat
chāidǣnphāktai. (Model of good governance in school administration Under the
Office of the Vocational Education Commission in the three southern border
provinces). Dissertation, Doctor of Education, Doctor of Philosophy The field of
educational administration College Pathum Thani University.
ยุพดี อ่องวุฒิวัฒน์. (2561). รูปแบบการใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร
ดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยปทุมธานี.
Phakdeechit, R. (2555). Thammāphibānphư̄akānbō̜rihānphākratlæphākʻēkkachon. Bangkok:
Chulalongkorn University.
รัชยา ภักดีจิตต์. (2555). ธรรมาภิบาลเพื่อการบริหารภาครัฐและภาคเอกชน. กรุงเทพมหานคร:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Thongsut, W. (2551). Kānbō̜rihānčhatkānthīdī. Bangkok: Inthaphat.
วิภาส ทองสุทธิ์. (2551). การบริหารจัดการที่ดี. กรุงเทพมหานคร: อินทภาษ.
Thathongthawin, W and group. (2552). Kānmīsūanrūamkhō̜ngnaksưksātō̜kānčhatkitkam
naksưksākhō̜ngwitthayālai Rātchaphrưk. (Student participation in organizing college
student activities Ratchapruek). Bangkok: Rajapruek University.
วรณัฐ ถ้าทองถวิล และคณะ. (2552). การมีส่วนร่วมของนักศึกษาต่อการจัดกิจกรรมนักศึกษาของวิทยาลัย
ราชพฤกษ์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์.
Thongthamchinda, S. (2554). "phrưttikamkānbō̜rihānkapmāttrathānsūphatthanādeklek".
“(Administrative behavior and standards for child development centers)".
Silpakorn Educational Research Journal 7 (2): 234 - 244.
ศิริพร ทองธรรมจินดา.(2554). “พฤติกรรมการบริหารกับมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก”. วารสารศิลปากร
ศึกษาศาสตร์วิจัย 7 (2): 234 - 244.
Office of the Public Sector Development Commission. (2546). Khūmư̄kham
ʻathibāilænǣothāng patibattāmphō̜rarāt Kritsadīkāwādūailakkēnlæwithīkān
bō̜rihānkitkānbānmư̄angthīdī BE 2546. Bangkok: Sirabut.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2546). คู่มือคำอธิบายและแนวทางปฏิบัติตามพระราช
กฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546. กรุงเทพมหานคร:
สิรบุตร.
Thipphayachan, A. (2547). kānphatthanā rūpbǣp kānpramœ̄nphon kān patibat ngān
khō̜ng ʻāčhān sathāban rātchaphat. (The development of the performance
evaluation model of Rajabhat Institute teachers). Doctor of Philosophy Dissertation
Degree Educational Research and Evaluation Program College Naresuan University.
อมรรัตน์ ทิพยจันทร์. (2547). การพัฒนารูปแบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของอาจารย์สถาบันราชภัฏ.
ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยนเรศวร.
Misuttha, A., Satchukon, S. (2552). kānpramœ̄nphon kān patibat ngān kānpramœ̄n dōi
chai Competency. (14th ed). Bangkok: SE-EDUCATION Publishing
อลงกรณ์ มีสุทธา และสมิต สัชฌุกร. (2552). การประเมินผลการปฏิบัติงาน การประเมินโดยใช้ Competency.
(พิมพ์ครั้งที่ 14). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ซีเอ็ดยูเคชั่น.
Kanchanawon, U. (2552). kānphatthanā rūpbǣp kān patibat ngān khō̜ng bukkhalākō̜n
mahāwitthayālai theknōlōyī rāt mongkhon Rattanakōsin. (The development of the
operational model of personnel University of Technology Rajamangala Rattanakosin).
Dissertation, Ph.D., Industrial Education, Doctor of Philosophy Vocational
Administration College King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang.
อุดมวิทย์ กาญจนวรงค์ . (2552). การพัฒนารูปแบบการปฏิบัติงานของบุคลากร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลรัตนโกสินทร์. ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาครุศาสตรอุตสาหกรรมดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร
อาชีวศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
ภาษาต่างประเทศ
Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). “Determining Sample Size for Research Activities”.
Education and Psychological Measurement. 30(3): 608.
UNESCO. (1981). Quality of life. An Orientation of Population Education. Bangkok: UNESCO.