ปัจจัยเชิงสาเหตุของการส่งเสริมจิตวิญญาณความเป็นครูของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูมิภาคตะวันตก (A Causal Model of Promoting Teacher Spirituality for University Students in the Faculty of Education Western Regional Rajabhat University)

ผู้แต่ง

  • ดวงใจ ชนะสิทธิ์ (Duangjai Chanasid)
  • พงศ์เทพ จิระโร (Pongthep Jiraro)

คำสำคัญ:

ปัจจัยการส่งเสริม / จิตวิญญาณความเป็นครู

บทคัดย่อ

การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) องค์ประกอบจิตวิญญาณความเป็นครูของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ 2) ปัจจัยการส่งเสริมจิตวิญญาณความเป็นครูของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ 3) ปัจจัยเชิงสาเหตุของการส่งเสริม  จิตวิญญาณความเป็นครูของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างคืออาจารย์ผู้สอน นักศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษารวมจำนวน 390 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้คือความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบ    การวิเคราะห์เส้นทาง การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา

         ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบของจิตวิญญาณความเป็นครูของนักศึกษาคณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏภูมิภาคตะวันตก มี 6 องค์ประกอบคือ 1) รักการสอน มีความสุขในการสอน 2) รักและศรัทธาในวิชาชีพครู 3) เสียสละ จิตอาสา 4) เป็นแบบอย่างที่ดีต่อศิษย์ 5) ช่วยเหลือ เอื้ออาทร เมตตาต่อศิษย์ 6) รอบรู้ความเป็นครู 2. ปัจจัยการส่งเสริมจิตวิญญาณความเป็นครูของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูมิภาคตะวันตกพบว่ามี 4 ปัจจัย คือ 1) ปัจจัยการพัฒนาด้านนวัตกรรมเทคโนโลยีและความก้าวหน้าสู่อาชีพ 2) ปัจจัยด้านการยอมรับและการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร 3) ปัจจัยด้านการพัฒนาบุคลิกภาพและการส่งเสริมสนับสนุน 4) ปัจจัยด้านเจตคติต่อวิชาชีพครู 3.ปัจจัยเชิงสาเหตุของการส่งเสริมจิตวิญญาณความเป็นครูของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูมิภาคตะวันตก พบว่า มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ เมื่อพิจารณาค่าดัชนีความสอดคล้องกลมกลืนของปัจจัยเชิงสาเหตุจากค่าต่างๆ พบว่าทุกค่าดัชนีมีความสอดคล้องกันทุกตัว ได้แก่ ค่า GFI = .997 ค่า AGFI = .949 ค่า CFI = 1.00 ค่า RFI = .963 ค่า RMR มีค่าเท่ากับ .000 และ RMSEA มีค่าเท่ากับ .000

References

Khiaowichai, K. (2553). “Kānsangkhro̜khwāmrūkīaokapkānniyām/nǣokhit læpatčhai
thīsœ̄msāngkrabūankānrīanrūphư̄aphatthanāčhitwinyānkhō̜ngkhwāmpenmanutthīsom
boon: Kānkhapkhlư̄ančhitwinyānkhō̜ngphūrīandūaiphalangthāngkānsưksā”. (Synthesis
of knowledge about definitions / concepts And factors that enhance the learning
process to develop the spirit of complete humanity: driving the spirit of learners with
educational power). Silpakorn Educational Research Journal. 1 (2): 310 – 311.
คณิต เขียววิชัย. (2553). “การสังเคราะห์ความรู้เกี่ยวกับการนิยาม/แนวคิด และปัจจัยที่เสริมสร้าง
กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาจิตวิญญาณของความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์: การขับเคลื่อนจิตวิญญาณ
ของผู้เรียนด้วยพลังทางการศึกษา”. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย. 1 (2): 310 – 311.


Sænglœtuthai, C. (2557). “Patčhaithīsongphontō̜rǣngčhūngčhaikānsưksātō̜naisākhāwichā
Chīpkhrūkhō̜ngnaksưksāchanpīthī Nưng Mahāwitthayālairātchaphatnakhō̜npathom”.
(Factors that affect the motivation of continuing education in the teacher profession of
first year students Nakhon Pathom Rajabhat University). Journal of Graduate Studies.
11 (52): 139.
จิตติรัตน์ แสงเลิศอุทัย. (2557). “ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจการศึกษาต่อในสาขาวิชาชีพครูของนักศึกษาชั้นปีที่ 1
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม”. วารสารบัณฑิตศึกษา. 11 (52): 139.
Chanasid, D., Maneerat, C., Chiraro, P. (2559). “Čhitwinyānkhwāmpenkhrūkhō̜ngnaksưksā
Khanakharusāt Mahāwitthayālairātchaphatnakhō̜npathom”. (The spirit of being a
teacher of students in the Faculty of Education, Nakhon Pathom Rajabhat University).
Silpakorn Educational Research Journal. 8 (1): 107 – 131.
ดวงใจ ชนะสิทธิ์ ชัยยุธ มณีรัตน์ และพงศ์เทพ จิระโร. (2559). “จิตวิญญาณความเป็นครูของนักศึกษา
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม”. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย. 8 (1): 107 – 131.
Chitchayawanit, T. (2560). Kānsưksālækhwāmpenkhrūthai. Bangkok: Publisher of
Chulalongkorn University.
ธราญา จิตรชญาวณิช. (2560). การศึกษาและความเป็นครูไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Sangraksa, N. (2554). “Kānsangkhro̜khwāmrūthāngdānkānphatthanāčhitwinyān Čhākrư̄anglao
khwāmsamretkhō̜ngkhrūlænakrīannairabopkānsưksā: Kānphatthanānō̜ʻō̜n
thāngkānsưksā Sāngčhitpanyanaikānrīanrūsūkhwāmpenmanutthīsomboon”. (Synthesis
of knowledge in spiritual development From the narrative of the success of teachers
and students in the educational system: the development of educational young
shoots To create a complete mental and intellectual learning). Silpakorn Educational
Research Journal. 2 (2): 21 – 30.
นรินทร์ สังข์รักษา. (2554). “การสังเคราะห์ความรู้ทางด้านการพัฒนาจิตวิญญาณ จากเรื่องเล่าความสำเร็จ
ของครูและนักเรียนในระบบการศึกษา: การพัฒนาหน่ออ่อนทางการศึกษา สร้างจิตปัญญา
ในการเรียนรู้สู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์”.วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย. 2 (2): 21 – 30.
Suchindamanichai, P. (2556). Kānyō̜mraptonʻēnglæbukkhalikkaphāphāʻongprakō̜pthīphayākō̜n
khwāmchalātthāngčhitwinyānkhō̜ngkhrūrōngrīansangkatsamnakngānkhētphư̄nthi
̄kānsưksāmatthayomsưksā Khēt Sip Čhangwatsamutsakorn. (การยอมรับตนเองและ
บุคลิกภาพห้าองค์ประกอบที่พยากรณ์ความฉลาดทางจิตวิญญาณของครูโรงเรียนสังกัดสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10 จังหวัดสมุทรสาคร). Master of Arts Thesis Department
of Industrial and Organizational Psychology Faculty of Applied Arts King Mongkut's
University of Technology North Bangkok.
ปฎาวุฒิ สุจินดามณีชัย. (2556). การยอมรับตนเองและบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบที่พยากรณ์ความฉลาด
ทางจิตวิญญาณของครูโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10 จังหวัด
สมุทรสาคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและ
องค์การ คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
Wongudom, P. (2559). Patčhaichœ̄ngsāhētthīsongphontō̜khwāmsuknaikānthamngān
khō̜ngkhrūrōngrīanprathomsưksānaiphư̄nthītharakandānphāknư̄atō̜nbon
Sangkatsamnakngānkhanakamkānkānsưksānaphư̄nthān. (Causal factors affecting
work happiness of primary school teachers in the upper north Under the Office of
the Basic Education Commission). Doctor of Philosophy Thesis The field of Educational administration College Burapa University.
ปิยะพร วงษ์อุดม. (2559). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานของครูโรงเรียนประถมศึกษา
ในพื้นที่ทุรกันดารภาคเหนือตอนบน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.
Chiraro, P. (2554). Lakkānwičhaithāngkānsưksā. Chonburi: Department of Research and
Applied Psychology Burapa University.
พงศ์เทพ จิระโร. (2554). หลักการวิจัยทางการศึกษา. ชลบุรี: ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาประยุกต์
มหาวิทยาลัยบูรพา.
Sænghirun, M. and Group. (2554). Patčhaithīmīittipoltō̜naksưksānaikānlư̄akrīan
khanakharusāt Mahāwitthayālairātchaphatʻutdit. (Factors influencing students in
choosing the Faculty of Education Uttaradit Rajabhat University). Faculty of
Education Uttaradit Rajabhat University.
มานี แสงหิรัญ และคณะ. (2554). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อนักศึกษาในการเลือกเรียนคณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.
Chum chit, Y. (2553). khwāmpenkhrū. 4th edition. Bangkok: Odiansato.
ยนต์ ชุ่มจิต. (2553). ความเป็นครู. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.
Nanthasi, W. (2559). Mōdēnkhwāmsamphankhrōngsāngpatčhaithīsongphontō̜khunlaksana
khwāmpenkhrūwichāchīpnaisatawatthī 21. Faculty of Education Sakon Nakhon
Rajabhat University
วันเพ็ญ นันทะศรี. (2559). โมเดลความสัมพันธ์โครงสร้างปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณลักษณะความเป็นครู
วิชาชีพในศตวรรษที่ 21. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
Amornwiwat, S. (2554). Khrusưksākapkhwāmplīanplǣngthīthāthāi. Bangkok: Patcharin PP
Printing Factory
สายชล เทียนงาม. (2556). “ปัจจัยที่ส่งผลต่อลักษณะครูที่พึงประสงค์ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์
วิชาชีพครูในมหาวิทยาลัยราชภัฏ: การวิเคราะห์สมการโครงสร้างพหุระดับ”. วารสารศิลปากร
ศึกษาศาสตร์วิจัย. 5 (1): 121 – 225.
Office of the National Education Commission, Office of the Prime Minister. (2542).
Phrarātchabanyatkānsưksāhǣngchāt ED 2542 Kǣkhaiphœ̄mtœ̄m (No. 2) ED 2545.
สุมน อมรวิวัฒน์. (2554). ครุศึกษากับความเปลี่ยนแปลงที่ท้าทาย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์พัชรินทร์ พี.พี.
Thammatrakun, S. (2555). Kānsưksākhunlaksanakhō̜ngkhrūyukmai. Psychology and guidance
Groups Faculty of Education Phetchabun Rajabhat University.

สุเทพ ธรรมะตระกูล. (2555). การศึกษาคุณลักษณะของครูยุคใหม่. กลุ่มวิชาจิตวิทยาและแนะแนว
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.
Khotavee, S. (2557). Kānphatthanārūpbǣpkānrīankānsō̜ntāmnǣokhitčhittapanyasưksā
Phư̄asāngsœ̄mčhitwinyānkhwāmpenkhrū Samrapnaksưksākhrusāt Naisangkat
mahāwitthayālairātchaphat. (The development of the teaching and learning
model according to the concept of psycho-education in order to strengthen the
spirit of being a teacher For education students Under the Rajabhat University).
Doctor of Philosophy Thesis Curriculum and Instruction College Naresuan University.
สุพิชญา โคทวี. (2557). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาเพื่อสร้าง
เสริมจิตวิญญาณความเป็นครู สำหรับนักศึกษาครุศาสตร์ ในสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏ.
วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร.
Laiphikun, S. (2555). Kānsưksābotbātkhō̜ngphūbō̜rihānsathānsưksānaikānsongsœ̄m
kānphatthanākhrūsūkhwāmpenkhrūmư̄ʻāchīpnaiyukpatirūpkānsưksā
Sangkatsamnakngānkhētphư̄nthīkānsưksāprathomsưksāphranakhō̜nsīyutthayā
Khēt Nưng. (A study of the roles of school administrators in promoting teacher
development into professional teachers in the educational reform era under the
Office of Phra Nakhon Si Ayutthaya Primary Educational Service Area 1). Master of
Education Thesis The field of educational administration Bureau of Graduate Studies
Phra Nakhon Si Ayutthaya Rajabhat University.
สมสมร ลายพิกุน. (2555). การศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการพัฒนาครู
สู่ความเป็นครูมืออาชีพในยุคปฏิรูปการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
พระนครศรีอยุธยา เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา
สำนักบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
Thianngam, S. (2556). “Patčhaithīsongphontō̜laksanakhrūthīphưngprasongkhō̜ng
naksưksāfưkprasopkānwichāchīpkhrūnaimahāwitthayālairātchaphat:
Kānwikhro̜somkānkhrōngsāngphahuradap”.Silpakorn Educational Research Journal.
5 (1): 121 – 225.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สำนักนายกรัฐมนตรี. (2542). พระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545.
Kænsan, A. and Group. (2560). “Kānphatthanātūabongchīčhitwinyānkhwāmpenkhrū
khō̜ngkhrūsangkatsamnakngānkhanakamkānkānsưksānaphư̄nthān”. Journal of
Nakhon Phanom University. 7 (1): 7-15.
อมรรัตน์ แก่นสาร และคณะ. (2560). “การพัฒนาตัวบ่งชี้จิตวิญญาณความเป็นครู ของครูสังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน”. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม. 7 (1): 7-15.

ภาษาต่างประเทศ
Yamane, Taro. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. (3thEd). New York: Harper and Row
Publication.

เผยแพร่แล้ว

2019-07-08

ฉบับ

บท

บทความวิจัย