การพัฒนารูปแบบการสอนแบบผสมผสาน เพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดแก้ปัญหา สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาการประถมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (The Development of The Blended Learning Model to Enhance Problem-Solving Skills of The Elementary Education Program Students of Bansomdejchaopraya Rajabhat University)

ผู้แต่ง

  • กุลกาญจน์ สุวรรณรักษ์ (Kulakarn Suwanrak) มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

คำสำคัญ:

รูปแบบการสอนแบบผสมผสาน / ทักษะการคิดแก้ปัญหา

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการสอนแบบผสมผสานเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดแก้ปัญหา และศึกษาผลการใช้รูปแบบการสอนแบบผสมผสานเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดแก้ปัญหา โดยการเปรียบเทียบความรู้ทางคณิตศาสตร์ก่อนและหลังการใช้รูปแบบการสอน เปรียบเทียบทักษะการแก้ปัญหาก่อนและหลังการใช้รูปแบบการสอน และศึกษาความพึงพอใจมีต่อรูปแบบการสอน โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาสาขาวิชาการประถมศึกษา จำนวน 51 คน โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย (gif.latex?\bar{x}) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ t-test dependent samples ผลการวิจัยมี พบว่าความรู้คณิตศาสตร์ของนักศึกษาสาขาวิชาการประถมศึกษาหลังการใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานเพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ด้านทักษะการแก้ปัญหาของนักศึกษาสาขาวิชาการประถมศึกษาหลังการใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานเพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และความพึงพอใจมีต่อรูปแบบการเรียนการสอนหลังการใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานเพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาการประถมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา อยู่ในระดับมากที่สุด

 

References

ภาษาไทย
Ministry of Education. (2001). Basic Education Curriculum B.E. 2544. Handbook of Mathematics Learning Management, Bangkok : The Express Transportation Organization of Thailand.
Chonlaporn Mianpet. (2013). The Development of Multimedia Computer Assisted Instruction with Cartoons on “Ratio and Percentage” to Promote Achievement and Mathematical Problem Solving Ability of Matthayomsksa II Students. Master’s thesis, M.Ed. (Seconday Education). Bangkok : Graduate School, Srinakharinwirot University.
Chaisak Leelajaratkul. (1996). Math activities in schools. Bangkok: Patumwan Demonstration School Srinakharinwirot University.
Tissana Khammanee. (2011). Science of Teaching: Knowledge for Effective Learning Orgaization. (8rd edition) Bangkok: Chulalongkorn University Publishing Com.
ปกเกศ ชนะโยธา. (2551). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และความพึงพอใจ ของนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่สร้างขึ้นตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์. ปริญญานิพนธ์ ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2551). การพัฒนาการคิด. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด 9119 เทคนิค พริ้นติ้ง.
ไพฑูรย์ กานต์ธัญลักษณ์. (2557). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานด้วยการเรียนแก้ปัญหาร่วมกันและเทคนิคซินเนคติกส์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ของนักศึกษาครู. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สายชล จินโจ. (2550). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานรายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร 1 สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ. วิทยานิพนธ์ ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
สุนันท์ ฉิมวัย. (2543). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์และความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการสอนแบบปฏิบัติ การกับนักเรียนที่ ได้รับการสอนตามคู่มือครูในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการมัธยมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ภาษาอังกฤษ
Bransford, and Stein. (2007) Principles for Teaching Problem Solving. Retrieved from www.plato.com/downloads/papers/paper_04.pdf/
Guilford and Hoepfner, R. (1971). The Analysis of Intelligence. New York : McGraw-Hill Book Company.
Johnson, K., McHugo, C., & Hall, T. (2006). Analysing the efficacy of blended learning using Technology Enhanced Learning (TEL) and m-learning delivery technologies. 23rd ed. Ascilite In The University: Sydney.
Klegeris, A.; & Hurren, H. (2011). “Impact of problem–based learning in a large classroom setting: student perception and problem–solving skills”. Advances in Physiology Education. 35(4): 408–415.
Muraski, Sue Virginia. (1979). “A Study of Effects of Explicit Reading Instruction On Reading Performance in Mathematics and on Problem Solving Ability of Sixth Grade”. Dissertation Abstracts International. 39(7): 4104-A.
Polya, George. (1957). How to Solve It : A New Aspect of Mathematical Method (Penguin Science). New York: Doubleday and Company Garden City.
Togaw. Paul Willium. (1994). “A Study of the Effect of using an open Approach to Teaching Mathematics upon the Mathematics Problem-Solving Behaviors of Second School Student”. Dissertation Abstracts International. 54(8): 2534-A.
Wallas, G. (1972). The Art of though. London: Watts.
Xin, Yan Ping. (2003). “A comparison of the Instruction Approaches on Mathematics word Problem Solving By Stydent with Learing Problem”. Dissertation Abstracts International. 63(12): 4276-A.

เผยแพร่แล้ว

2019-07-08

ฉบับ

บท

บทความวิจัย