การพัฒนารูปแบบการสอนโดยใช้การคิดเชิงออกแบบเป็นฐาน เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านหลักสูตร สำหรับนิสิตมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการศึกษา

ผู้แต่ง

  • แสงเดือน เจริญฉิม คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • กนิษฐา เชาว์วัฒนกุล คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • พินดา วราสุนันท์ คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • วิทยา ซิ้มเจริญ คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • ศตนันทน์ ทิพวรวิมล โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน

คำสำคัญ:

รูปแบบการสอน, การคิดเชิงออกแบบ, นวัตกรรมด้านหลักสูตร

บทคัดย่อ

บทความการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการสอนโดยใช้การคิดเชิงออกแบบเป็นฐาน          เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านหลักสูตร 2) ศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการสอนโดยใช้การคิดเชิงออกแบบเป็นฐานเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านหลักสูตร 3) ศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการสอนโดยใช้การคิดเชิงออกแบบเป็นฐานเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านหลักสูตร ประกอบด้วย สมรรถนะการออกแบบนวัตกรรมด้านหลักสูตร  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความพึงพอใจที่มีต่อรูปแบบการสอน กลุ่มเป้าหมายเป็นนิสิตมหาบัณฑิตสาขานวัตกรรมการศึกษา ชั้นปีที่ 1 คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ที่เรียนในรายวิชา 02182581 ทฤษฎีหลักสูตร การออกแบบหลักสูตรและการประเมินหลักสูตร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 12 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบประเมิน แบบทดสอบ และแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการสอนประกอบด้วย           4 องค์ประกอบคือ 1. หลักการของรูปแบบ 2. วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3. ขั้นตอนของรูปแบบ 5 ขั้นตอน ได้แก่ การทำความเข้าใจกลุ่มเป้าหมายอย่างลึกซึ้ง (Empathize) การตั้งกรอบโจทย์ (Define) การสร้างความคิด (Ideate) การสร้างต้นแบบ (Prototype) การทดสอบ (Testing) และ 4. การวัดและประเมินผลของรูปแบบ               2) รูปแบบการสอนที่พัฒนามีประสิทธิภาพในระดับมาก  3) ประสิทธิผลของรูปแบบส่งผลให้นิสิตมีสมรรถนะการออกแบบนวัตกรรมด้านหลักสูตรในระดับมาก มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนร้อยละ 81.94 และความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อรูปแบบการสอนอยู่ในระดับมากที่สุด

References

Asanok, M. (2018). “Integrated Design Thinking for Instructional Innovation Development”. Journal of Educational Technology and Communications Faculty of Education Mahasarakham University 1(1): 6-12. (in Thai)

Beaird, G., Geist, M., Lewis, E.J. (2018). “Design thinking: Opportunities for Application in Nursing Education”. Nurse Education Today.

Bloom, B. S., et al. (1956). Taxonomy of Educational Objectives, the Classification of Educational Ggoals – Handbook I: Cognitive Domain. New York: McKay.

Cox M. (2015). Design thinking in Healthcare. [Online]. Retrieved July 16, 2022, from https:// www.researchgate.net/publication/281408556_ Design_Thinking_in_Healthcare.

DEX Space. (2022). What is “Design Thinking”. [Online]. Retrieved July 14, 2022, from http:// www.dexspace.co/design-thinking-overview/.

Dorst, K. (2011). “The Core of Design Thinking and Its Application”. Design Studies 29(6): 521-532.

Ekthamasuth, C. (2020). “Development of Instructional Model Based on Design Thinking and Reflective Practice Approaches to Enhance Nursing Innovation Abilities of Nursing Students”. Journal of Health and Nursing Research 36(2): 1-14. (in Thai)

Khamanee, T. (2005). Teaching Science. (4th printing) Bangkok: Suttha Printing Co., Ltd. (in Thai) Panich, V. (2018). Creating Learning for the 21st Century. (Bangkok, Siam Commercial Bank Foundation, 2013), Magazine to Develop Knowledge and Creativity to Increase Human Capital Potential Through Public Learning Process. The Knowledge. (2018). [Online]. Retrieved July 15, 2022, from www.okmd.or.th/knowledge/okmd-magazine.2(11). (in Thai)

Patphol, M. (2019). Innovative Curriculum Design. Center for Innovation Leaders in Curriculum and Learning. [Online]. Retrieved July 14, 2022, from www.curriculumandlearning.com Pavie, X., and Carthy, D. (2015) “Leveraging Uncertainty: a Practical Approach to the Integration of Responsible Innovation Through Design Thinking”. Procedia-Social and Behavioral Sciences 213: 1040-9.

Phitthayasenee, M., and Yuangsoi, P. (2021). “Design Thinking : New Era Innovator Teachers”. Lampang Rajabhat University Journal 10(2): 190-199. (in Thai)

Plattner, H. (2019). An Introduction to Design Thinking PROCESS GUIDE. [Online]. Retrieved July 15, 2022, from https://dschool-ld.stanford.edu/sandbox/groups/designresources /wiki36873/attachments/ 74b3d/ModeGuideBOOTCAMP2010L.pdf.

Rowe, P. G. (1991). Design Thinking. Cambridge, MA: The MIT Press.

UK Design Council. (2017). Designers Across Disciplines Share Strikingly Similar Approaches To The Creative Process, Which We’ve Mapped Out as “The Double Diamond”. [Online]. Retrieved July 18, 2022, from http://www.designcouncil.org.uk/news-opinion/design-process-what-double-diamond.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-11-03

ฉบับ

บท

บทความวิจัย