การพัฒนาสรรถนะและตัวบ่งชี้สมรรถนะการจัดการเรียนการสอนวิชาชีพ ด้านธุรกิจค้าปลีก (The Teaching Competency and Indicators for Learner Profession on Retail Business)

ผู้แต่ง

  • ทิพอนงค์ กุลเกตุ (Thipanong Gulgate)
  • มาเรียม นิลพันธุ์ (Maream Nillapun)

คำสำคัญ:

สมรรถนะการจัดการเรียนการสอน, Teaching Competency, การเรียนการสอนวิชาชีพ, Learner Profession, ธุรกิจค้าปลีก, Retail Business

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์สอดคล้องกับวิธีดำเนินการวิจัย 4 ข้อ/ขั้นตอน คือ 1) การพัฒนาสมรรถนะ 2) การพัฒนาตัวบ่งชี้ 3) การวิเคราะห์องค์ประกอบ และ 4) ประเมินประสิทธิภาพตามกรอบมาตรฐานการประเมิน กลุ่มเป้าหมายเป็นผู้สอนสาขาธุรกิจค้าปลีก เครื่องมือวิจัย คือ แบบสอบถาม เก็บข้อมูลครั้งที่ 1 นำมาวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ เก็บข้อมูลครั้งที่ 2 นำมาวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน  ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะการจัดการเรียนการสอนวิชาชีพด้านธุรกิจค้าปลีก จำแนกเป็น 2 ประเภท 1) สมรรถนะหลัก “สอนเป็น” มี 6 สมรรถนะย่อย 17 ตัวบ่งชี้ 2) สมรรถนะวิชาชีพ “เด่นขาย” มี 5 สมรรถนะย่อย 13 ตัวบ่งชี้ 3) ผลการประเมินมาตรฐาน พบว่า ค่าเฉลี่ยประสิทธิภาพของสมรรถนะหลักทุกด้านอยู่ในระดับมาก ด้านความเป็นไปได้มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด (=4.47, S.D.=0.11) และค่าเฉลี่ยประสิทธิภาพของสมรรถนะวิชาชีพทุกด้านอยู่ในระดับมาก ด้านความเหมาะสมมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด (=4.46, S.D.=0.18)

The objectives of this research related to process 4 steps were to 1) develop the competency, 2) construct the indicators, 3) analyze the teaching competency factors, and   4) evaluate effectiveness with standard for educational. Target was teachers. Research instrument was the 2 questionnaires. The results were as follow 1) the core competency “Success Teaching” consisted of 6 factors 17 indicators, 2) the professional competency “Selling Excellent” consisted of 4 factors 13 indicators 3) the effectiveness of core competency indicated the mean score by the feasibility standard (=4.47, S.D.=0.11) and the professional competency indicated the mean score by the accuracy standard (=4.46, S.D.=0.18)

Author Biography

ทิพอนงค์ กุลเกตุ (Thipanong Gulgate)

teacher, Aungthong Dramatic of Atrs collage

เผยแพร่แล้ว

2017-06-17

ฉบับ

บท

บทความวิจัย