การพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อกำหนดมาตรฐานธุรกิจร้านขนมไทยสู่ตลาดต่างประเทศ
คำสำคัญ:
ตัวชี้วัด, กำหนดมาตรฐาน, ธุรกิจร้านขนมไทย, ตลาดต่างประเทศบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษา (1) พัฒนาและตรวจสอบความตรงของตัวชี้วัดมาตรฐานธุรกิจร้านขนมไทยสู่ตลาดต่างประเทศ และ (2) กำหนดมาตรฐานธุรกิจร้านขนมไทยสู่ตลาดต่างประเทศ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ซึ่งเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างผู้ประกอบธุรกิจร้านขนมไทย จำนวนทั้งสิ้น 932 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติการแจงแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความเบ้ ค่าความโด่ง และเทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ผลการวิจัยพบว่า ตัวชี้วัดเพื่อกำหนดมาตรฐานธุรกิจร้านขนมไทยสู่ตลาดต่างประเทศที่พัฒนาขึ้นมีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ประกอบด้วย 44 ตัวชี้วัดจาก 11 องค์ประกอบ ต่างมีความตรงเชิงเหมือน (Convergent Validity) ทั้งนี้เนื่องจากค่าความเชื่อมั่นเชิงโครงสร้างผ่านเกณฑ์มากกว่า 0.60 และค่าน้ำหนักองค์ประกอบ (Factor Loading) ผ่านเกณฑ์ 0.30 ขึ้นไป (ค่าสัมบูรณ์)ตลอดจนเมื่อนำตัวชี้วัดที่พัฒนาขึ้นมากำหนดมาตรฐานธุรกิจร้านขนมไทยสู่ตลาดต่างประเทศ โดยพิจารณาจากคะแนนรวมสุทธิแบ่งได้ 5 ระดับ คือ ระดับไม่ผ่านมาตรฐาน (1 ดาว) (<50%) ระดับต่ำกว่ามาตรฐาน (2 ดาว) (>50-59%) ระดับมาตรฐาน (3 ดาว) (>60-69%) ระดับดี (4 ดาว) (>70-89%) และระดับดีเยี่ยม (5 ดาว) (>90-100%)
References
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2558). คู่มือเกณฑ์มาตรฐานธุรกิจร้านอาหาร ภัตตาคาร. กรุงเทพฯ:กระทรวงพาณิชย์.
กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน. (2558). มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาผู้ประกอบการอาหารไทย. กรุงเทพฯ: กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน.
กระทรวงพาณิชย์. (2557). ธุรกิจร้านอาหาร/ภัตตาคาร. กรุงเทพฯ: กระทรวงพาณิชย์.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2560). การวิเคราะห์สถิติขั้นสูงด้วย SPSS for Windows. (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: สามลดา.
โกวิท ไกรศรินท์. (2555). ส่วนประสมการตลาดบริการที่มีผลต่อผู้บริโภคในการเลือกใช้บริการร้านอาหารในอำเภอเมืองราชบุรี. เชียงใหม่: การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ฉัตรศิริ ปิยพิมลสิทธิ์. (2558). ทฤษฎีการวัดและการทดสอบ. สงขลา: คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ชวัลรัชต์ ภานุภ์คนันท์, ศิวารัตน์ ณ ปทุม และปริญ ลักษิตามาศ. (2558). การพัฒนาตัวแบบกลยุทธ์การตลาดบริการ เพื่อสร้างคุณค่าการรับรู้อาหารไทยประยุกต์สู่ตลาดอาเซียน. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 7(พิเศษ), 26-38
ัยสมพล ขาวประเสริฐ. (2553). การตลาดบริการ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ชูใจ คูหารัตนไชย. (2546). สถิติเบื้องต้น (Introduction to Statistics). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร, 7-10.
นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2555). ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้น (LISREL): สถิติวิเคราะห์ส าหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นพรัตน์ บุญเพียรผล. (2560). แนวทางการพัฒนาคุณภาพบริการของธุรกิจร้านอาหารสำหรับนักท่องเที่ยวนานาชาติในเขตอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 10(1), 61-76.
ประกายรัตน์ สุวรรณ. (2555). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS เวอร์ชั่น 20.กรุงเทพฯ: บริษัท วี.พริ้นท์ (1991) จำกัด.
มนตรี พิริยะกุล. (2553). ตัวแบบเส้นทางก าลังสองน้อยที่สุดบางส่วน. การประชุมวิชาการสถิติและสถิติประยุกต์ ครั้งที่ 11 ประจำปี 2553. เชียงใหม่.
วิฑูรย์ สิมะโชคดี. (2552). ISO 9000 คู่มือสู่มาตรฐานคุณภาพระดับโลก. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า.
วีระพงษ์ เฉลิมจิระรัตน์. (2552). คู่มือพัฒนาระบบคุณภาพสู่มาตรฐาน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ผู้จัดการ.
ศรารัตน์ แสนป้อ. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคของผู้บริโภคที่ใช้บริการร้านอาหารบนถนนห้วยแก้ว อ าเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. (2556). แผนยุทธ์ศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียนพ.ศ.2554-2558. ประเทศอินโดนีเซีย: สำนักเลขาธิการอาเซียน
Amaldoss, W., & Jain, S. (2005). Pricing of conspicuous goods: A competitive analysis of social effects. Journal of Marketing Research, 15(2), 18-21.
Barcet, A. (2010). Innovation in services: A new paradigm and innovation model, In Gallouj, F., & Djellal, F. (Eds.), The handbook of Innovation and services (49-67), Cheltenham. UK: Edward Elgar Publishing Limited.
Billingsley, P. (1995). Probability and measure. (3rd ed.). New York: Wiley.
Brian, S. (2011) . Engage!: The comple guide for brands and business to build, cultivate, and measure success in the new web. New York: John Wiley & Sons, 201-202.
Byrne, B.M. (2001). Structural equation modeling with AMOS: Basic concepts, applications, and programming, Hahwah. New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates.
Chan, K.W., Yim, C.K., & Lam, S.S.K. (2010). Is customer participation in value creation a double-edged sword? Evidence from professional financial services across cultures. Journal of Marketing, 74(3), 48-64.
Cochran, W.G. (2007). Sampling techniques. (3rd ed.). New York: John Wiley & Sons.
Cronbach, L.J. (2003). Essential of psychology testing. New York: Hanper Collishes.
Evans, J.R., & Lindsay, W.M. (2008) . The management and control of quality.(7th ed.). Ohio: South-Western.
Hair, J. F., Anderson, R.E., Tatham, R.L., & Black, W.C. (2010). Multivariate data analysis. (7th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.
Hatcher, L. (1994). A step-by-step approach to using the SAS system for factor analysis and structural equation modeling. Cary, NC: SAS Institute.
Hoogland, J.J., & Boomsma, A. (1998). Robustness studies in covariance structure modeling: An overview and a meta-analysis. Sociological Methods & Research, 26(3), 329-367.
Hsiu-Li, C. (2002). Benchmarking and quality improvement: A quality benchmarking deployment approach. International Journal of Quality & Reliability Management, 19(6), 757-773.
Jackson, P., & Aston, D. (1995). Managing a quality systems using BS/EN/ISO9000. London: Kogan Page Ltd., 101-105.
James, R.L. (1998). Understanding employee motivation, Research and Extension Associate. Ohio: The Ohio State University, 81–85.
Kelloway, E.K. (1998). Using LISREL for structural equation modeling. New Jersey: Sage Publication.
Kline, P. (1994). An easy guide to factor analysis, London and New York. NY: Routledge.
Kotler, P. (2000). Marketing management. New Jersey: Prentice-Hall.
Kotler, P., & Keller, K. (2 0 0 6 ). Marketing and managemen. New Jersey: Pearson Prentice Hall, 50-51.
Kupper, C. (2017). Service innovation - A review of the state of the art, LMU Report 2001-2006, Institute for Innovation Research and Technology Management. Germany: University of Munich.
Lauterborn, B. (1990). New marketing litany; Four Ps passe; C-words take over. Advertising Age, 61(41), 26.
Lovelock, C., & Wirtz, L. (2006). Services marketing. (6th ed.). U.S.A.: Prentice Hall.
Ramasamy, S. (2009). Total quality management. India: Tata McGraw-Hill. Rust, R.T., Ambler, T., Carpenter, G.S., Kumar, V., & Srivastava R. K. (2004). Measuring marketing productivity: Current knowledge and future directions. Journal of Marketing, 68(4), 76-89.
Ryu, H.S., & Lee, J.N. (2012). Identifying service innovation patterns from the service-oriented perspective. PACIS 2012 Proceedings. 60.
Saleh, M.A., Quazi, A., Keating, B., & Gaur, S.S. (2017). Quality and image of banking services: A comparative study of conventional and Islamic banks. International Journal of Bank Marketing, 35(6), 878-902.
Scott, R., & Brand, C. (2001). Emotion marketing. New York: McGraw-Hill.
Silván, M. (1999). A model of adaptation to a distributed learning environment, Pro Gradu Thesis in Education. Department of Education, University ofJyväskylä.
Swink, M., Melnyk, S., Cooper, M.B., & Hartley, J. (2011). Managing operations across supply chain. New York: McGraw-Hill.
Tenner, A.R., & Irving, J.D. (1992). Total quality management: Three steps to continuous improvement. Massachusetts: Addison-Wesley Publishing Company, Inc.
Verma, R., & Boyer, K.K. (2009). Operations and supply chain management: World class theory and practice. United States: South-Western Cengage Learning (International Edition).
Wang, Q., Chris, V., Xiande, Z., & Zhiqiang, W. (2015). Modes of service innovation: A typology. Journal of Industrial Management & Data Systems. 115(7), 1358-1382.