การฆ่าตัวตายในภาวะทุนนิยมของสังคมไทยปัจจุบัน
คำสำคัญ:
ทุนนิยม, การฆ่าตัวตาย, ปัญหาเศรษฐกิจไทย, ปัญหาสังคมไทยบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มุ่งศึกษาปัญหาการฆ่าตัวตายของประชากรไทย ที่มีระดับความเข้มข้นทางสถิติมากขึ้นจากอดีตสู่แนวโน้มในอนาคต พยายามทำความเข้าใจโดยศึกษาสถิติการฆ่าตัวตายสำเร็จ สู่การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุผ่านมิติทางด้านเศรษฐกิจ ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบเศรษฐกิจทุนนิยมของไทยที่ก่อให้เกิดกลุ่มทุนผูกขาด เข้ามามีผลประโยชน์ในการบริหารประเทศ โดยเฉพาะการดำเนินนโยบายของภาครัฐ ที่ก่อให้เกิดสภาวะการได้เปรียบ-เสียเปรียบจากแข่งขันทางเศรษฐกิจระหว่างกลุ่มนายทุนกับกรรมาชีพ นำมาสู่ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคม หรือสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำต่อปัญหาการจ้างงานและการฆ่าตัวตายของวัยแรงงานเป็นสำคัญ และผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในประเทศไทย ในส่วนมิติทางด้านสังคมวัฒนธรรม ที่ส่งผลต่อภาวะการฆ่าตัวตายที่เพิ่มขึ้น ไม่ว่าจะเป็นปัญหาทางการเมืองจากการกำหนดนโยบายทางสังคมของภาครัฐที่ช่วยเหลือชนชั้นรากหญ้า แต่กลับมีลักษณะเอื้อนายทุน หรือลักษณะทางสังคม โครงสร้างทางสังคม และค่านิยมทางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลเช่นไรต่อแนวคิดและสภาวะการฆ่าตัวตายของผู้คนในสังคมไทยปัจจุบัน เพื่อที่จะจัดการปัญหาดังกล่าว ผู้เขียนบทความได้แนะนำแนวทางในการดำเนินการไว้ต่อทั้งภาครัฐและปัจเจกบุคคล ยกตัวอย่างการฟื้นฟูเศรษฐกิจ การลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม การปรับตัวและแนวคิดของปัจเจกบุคคลให้สามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลง เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน เพื่อลดอัตราการฆ่าตัวตายของสังคมไทยในปัจจุบัน
References
Emile, D. (1951). Suicide A Study in Sociology. Gleneoe, III : Free Press.
กรมสุขภาพจิต. (2562). สถิติคนไทยฆ่าตัวตายกี่รายต่อวัน และสาเหตุไหนท่าให้อยากตายมากที่สุด. สืบค้น 8 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.dmh.go.th/news-dmh/ view.asp?id=29978
กรมสุขภาพจิต. (2563). ปัญหาพฤติกรรมการฆ่าตัวตาย. สืบค้น 9 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.dmh.go.th/news/view.asp?id=2287
กาญจนา บุญยัง. (2559). การฆ่าตัวตายของชาวนาในสังคมไทย กรณีวิเคราะห์จากข่าวหนังสือพิมพ์. วารสารการบริหารท้องถิ่น, 9(1), 1-17. สืบค้นจาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/colakkujournals/article/view/88255/69386
ก้าวหน้า พงศ์พิพัฒน์. (2063). โควิด-19: เมื่อคนเบือกฆ่าตัวตายเพราะไร้ทางออกเรื่องปากท้องในภาวะปิดเมือง. สืบค้น 9 พฤษภาคม 2564, จากhttps://www.bbc.com/thai/ thailand-52562321
ขนิษฐา แสนใจรักษ์. (2552). “ในชั่ววูบของการฆ่าตัวตาย: การศึกษาเชิงปรากฏการณ์วิทยาในผู้ที่ผ่านประสบการณ์การพยายามฆ่าตัวตาย” (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จันทร์เพ็ญ อมรเลิศวิทย์. (2543). การจัดองค์การทางสังคม. มหาวิทยาลัยรามคำแหง: กรุงเทพฯ.
ณรงค์กร มโนจันทร์เพ็ญ. (2562). ประเทศที่มีอัตราการฆ่าตัวตายสูงที่สุดในโลกประจ่าปี 2019. สืบค้น 9 พฤษภาคม 2564, จาก https://thestandard.co/list-of-countries-by suicide-rate-2019/
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2563). เศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจไทยหลังโควิด 19 : โรคปฏิวัติโลกยกเครื่องสู่อนาคตวิถีชีวิตใหม่. สืบค้น 9 พฤษภาคม 2564, จากhttps://www.bot.or.th/Thai/BOTMagazine/Pages/256303_CoverStory.aspx
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2563). รายงานนโยบายการเงิน. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/MonetPolicyComittee/MPR/BO X_MPR/BOXMPR_Q2_3.pdf
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2564). เงินให้กู้ยืมแก่ภาคครัวเรือน. สืบค้น 8 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.bot.or.th/App/BTWS_STAT/statistics/ReportPage.aspx?reportID=775&language=th
ประกาย ศรีจันทีก. (2564). ผลการประชุมคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ครั้งที่ 1/2564. สืบค้น 1 พฤษภาคม 2564, จาก https://opec.go.th/boardmeeting1-64/
ปรัชญ์ รุจิวนารมย์. (2563). ระวังชาติติดกับดักการพัฒนาที่ไม่ยั่งยืน ย้ำการฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังโควิดต้องเดินคู่กับสิ่งแวดล้อม. สืบค้น 4 พฤษภาคม 2564, จากhttps://greennews. agency/?p=21530
ประเสริฐ รักไทยดี. (2534). การฆ่าตัวตาย : ปัญหาที่ไม่ควรมองข้าม. วารสารพัฒนบริหารศาสตร์, 31(4), 18-31.
ภูเบศร์ สมุทรจักร และมนสิการ กาญจนะจิตรา. (2557). พฤติกรรมบริโภคนิยมในวัยรุ่นไทย และ ปัจจัยที่เป็นสาเหตุ. วารสารธรรมศาสตร์, 33(1), 18-31. สืบค้นจาก http://tujournals. tu.ac.th/thammasatjournal/detailart.aspx?ArticleID=17
ภูมิพิชญ์ ยาสิทธิ์. (2560). เอกสารวิชาการ ถอดบทเรียนวิกฤติต้มย่ากุ้งผ่านเศรษฐกิจไทยและ ภูมิภาคอาเซียน. สืบค้น 4 พฤษภาคม 2564, จากhttps://library2.parliament.go.th/ ejournal/content_af/2560/aug2560-1.pdf
ยงยุทธ แฉล้มวงษ์. (2562). ตลาดแรงงานของไทยก่าลังจะมีปัญหาการว่างงานที่รุนแรงจริงหรือ?. สืบค้น 8 พฤษภาคม 2564, จาก https://tdri.or.th/2019/11/labour-force-and-unemployment-rate/
รตพร ปัทมเจริญ. (2552). การฆ่าตัวตาย : ปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรม. วารสารวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 5(2), 14. สืบค้นจาก https://so03.tci-thaijo.org /index.php/eJHUSO/article/view/85870/68276
ราชบัณฑิตยสถาน. (2524). พจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยาอังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2552). พจนานุกรมศัพท์เศรษฐศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: อรุณการพิมพ์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระ ชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๕๖
ลงทุนแมน. (2563). สรุปเศรษฐกิจไทย ย้อนหลัง 35 ปี. สืบค้น 8 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.longtunman.com/23712
วิรไท สันติประภพ. (2557). ชนชั้นกลางกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม. คอลัมน์เศรษฐศาสตร์ พเนจร นสพ. กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันพุธที่ 12 มีนาคม 2557 การเสวนาเพื่อปฏิรูป ประเทศไทยที่ศูนย์เยาวชน ณ สวนลุมพินี.
วรวุฒิ จำลองนาค. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับกลุ่มทุนผูกขาดในบริบทเศรษฐกิจการ เมืองไทย. (วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วิไลลักษณ์ เสรีตระกูล. (2556). ปัจจัยในการทำนายค่านิยมแบบวัตถุนิยมของนักศึกษาใน กรุงเทพมหานคร. วารสารเกษตรศาสตร์ (สังคม) , 34 ,17 – 29. สืบค้นจาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/kjss/article/download/246867/167759/
ศิริพร ยอดกมลศาสตร์. (2538). แนวคิดว่าด้วยชนชั้นกลางในสังคมไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศูนย์วิจัยแรงงานแห่งชาติ กระทรวงแรงงาน. (ม.ป.ป.). รายงานผลการศึกษา เรื่อง สาเหตุการไม่หางานท่าของผู้ไม่มีงานท่าแต่พร้อมจะท่างาน. สืบค้น 4 พฤษภาคม 2564, จาก nlrc.mol.go.th/research/KU47149/03KU47149.pdf
ฤทธิณัณฑ์ เชื้อทอง และรุจิระ โรจนประภายนต์. (2559). ค่านิยม อุดมการณ์ และรูปแบบการสื่อสารที่แสดงถึงลักษณะทางวัฒนธรรมของคนไทย. NIDA Journal of Language and Communication, 21(29), 110-143.
สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ. (2553). โรคทุนนิยม “น้่าผึ้งขม” แห่งสังคมสุขภาวะ. ม.ป.ท.: สำนักพิมพ์สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.สืบค้นจาก https://www.hiso.or.th/ hiso/picture/reportHealth/tonkit27.pdf
สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ. (2561). EEC อย่าลืมเศรษฐกิจฐานราก. สืบค้น 9 พฤษภาคม564. จากhttps://www.hiso.or.th/hiso/picture/reportHealth/ThaiHealth2018/thai2018_20.pdf
อนันต์ ปินะเต. (2562). การค้นหากฎความสัมพันธ์ข้อมูลนิสิตใหม่เพื่อพัฒนาระบบประชาสัมพันธ์ หลักสูตรออนไลน์. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 38(3), 294. สืบค้นจาก http://research.msu.ac.th/msu_journal/upload/journal_file/jfile_no141_720.pdf
Ilaw. (2560). นักวิชาการซัด ประชารัฐเอื้อทุนใหญ่ ซ้่าเติมคนจน ส่อเหลื่อมล้่าหนัก. สืบค้น 4 พฤษภาคม 2564, จาก https://ilaw.or.th/node/4679
News.thaipbs. (2563). ชี้ปัญหาความสัมพันธ์-เศรษฐกิจ ปัจจัยร่วมเสี่ยง "ฆ่าตัวตาย". สืบค้น 8 พฤษภาคม 2564, จาก https://news.thaipbs.or.th/content/287665
ThaiPublica. (2562). ความเหลื่อมล้่าไทย ท่าไมไม่เท่าเทียม(1) : ธปท.ชี้ 24 ปีรายได้ดีขึ้นแต่ทรัพย์สินแย่ลง.สืบค้น 6 พฤษภาคม 2564, จาก https://thaipublica.org/2019/ 12/bot-report-inequality01/
The matter. (2564). เกิดเหตุนักศึกษาฆ่าตัวตายหลังเครียดสะสมจากการเรียนออนไลน์ ด้านนักวิชาการเสนอมหาวิทยาลัยอย่าละเลยจิตใจ-ความพร้อมผู้เรียน. สืบค้น 1 พฤษภาคม 2564, จาก https://thematter.co/brief/134464/134464.