ทรรศนะเกี่ยวกับทิศทางการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในหลักสูตรฐานสมรรถนะของประเทศไทย

Main Article Content

ภัสราภรณ์ สหะกิจ

บทคัดย่อ

กระทรวงศึกษาธิการ กำหนดเป้าหมายให้เกิดการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะในการศึกษาขั้นพื้นฐาน บทความนี้จึงมีเป้าหมายเพื่อสะท้อนคิดเพื่อแสดงทรรศนะเกี่ยวกับทิศทางการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในหลักสูตรฐานสมรรถนะของประเทศไทย บทความนี้เริ่มต้นด้วยการอธิบายบริบทของเป้าหมายการปฏิรูปการศึกษาผ่านหลักสูตรและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ จากนั้น ขยายความทิศทางและสถานการณ์การพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนในระดับนานาชาติ ผ่านเป้าหมายของการศึกษาในอนาคต ค.ศ.2030 และกรอบการประเมิน PISA 2022 ด้านความฉลาดรู้วิทยาศาสตร์ แล้วอธิบายกระบวนทัศน์ที่เกี่ยวข้องกับสมรรถนะ ผ่านมุมมองของโมเดลภูเขาน้ำแข็ง (iceberg model) และการจำแนกความรู้และการประเมินของ Bloom’s Revised Taxonomy (2001) และ SOLO Taxonomy อธิบายทิศทางและสถานการณ์การพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนในประเทศไทย เกี่ยวกับภาพของการประเมินสมรรถนะผู้เรียนในประเทศไทยก่อนการมีหลักสูตรฐานสมรรถนะ และ สถานการณ์ปัจจุบันของการประเมินสมรรถนะผู้เรียนในหลักสูตรฐานสมรรถนะของประเทศไทย สุดท้าย ผู้เขียนแสดงทรรศนะเกี่ยวกับทิศทางการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในหลักสูตรฐานสมรรถนะของประเทศไทย ผ่านมุมมองของ SWOT Analysis ด้วยหวังว่าจะเป็นฐานคิดให้นักการศึกษาได้ทบทวนความเป็นไปได้และการพัฒนาแนวทางปฏิบัติในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในหลักสูตรฐานสมรรถนะของประเทศไทย

Article Details

บท
Academic Article

References

คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา. (ม.ป.ป.). “รายงานพันธกิจด้านการปฏิรูปการศึกษาผ่านหลักสูตรและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ. คณะทางานวางแผนจัดทากรอบสมรรถนะหลักผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในคณะอนุกรรมการการจัดการเรียนการสอน.”. [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก : https://www.thaiedreform.org/wp- content/uploads /2019/08/Core_competency_ 11.pdf. สืบค้น 19 มกราคม 2563.

ความสามารถในการแก้ปัญหาในรายวิชาการถ่ายภาพดิจิทัล สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากร” Veridian E-Journal, Silpakorn University, 11, 1 (มกราคม–เมษายน): 30-51

จะเด็ด เปาโสภา. (2550). การเขียนข้อกําหนดของมาตรฐานสมรรถนะทางวิชาชีพ.กรุงเทพมหานคร: ศูนย์วิจยและพัฒนาอาชีวศึกษา 1 กรมอาชีวศึกษา.

เจริญวิทย์ สมพงษ์ธรรม. (2553). การพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงานสมรรถนะหลัก. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา

ชนะ กสิภาร์.คุณวุฒิวิชาชีพไทย/มาตรฐานอาชีพ.กรุงเทพมหานคร. ม.ป.พ.2546 (อัดสําเนา)

ดุษฎี โยเหลา และ คณะ. (2557). การศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบ PBL ที่ได้จากโครงการสร้างชุดความรู้เพื่อสร้างเสริมทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของเด็กและเยาวชน: จากประสบการณ์ความสำเร็จของโรงเรียนไทย. กรุงเทพมหานคร : หจก. ทิพยวิสุทธิ์.

ทิศนา แขมมณี. (2562). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 23). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทิวา นาบำรุง. (2550). วิถีธรรมชาติแห่งการคิดเชิงคณิตศาสตร์เรื่องการคูณและการหารของเด็กที่มีอายุตั้งแต่ 7 – 10 ปี. ปริญญานิพนธ์ ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชา คณิตศาสตร์ศึกษาบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ธำรง บัวศรี. (2542). ทฤษฎีหลักสูตรการออกแบบและพัฒนา. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา.

นวลจันทร์ ปุยะกุล. (2548). โรงงานแห่งการเรียนรู้ : กรณีศึกษาเส้นทางแห่งนวัตกรรมการอาชีวศึกษาไทย. วิทยานิพนธ์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2556). การพัฒนาการคิด (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.

พิจิตรา ทีสุกะ. (2556). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน โดยใช้วิจัยเป็นฐาน รายวิชาการพัฒนา“รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย.” (2560). (6 เมษายน พุทธศักราช 2560). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 134 ตอนที่ 40 ก. หน้า 79- 81. [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก : http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/A/040/1.PDF. สืบค้น 22 มีนาคม 2563.

มารุต พัฒผล. (2557). การจัดการเรียนรู้ที่เสริมสร้างการรู้คิดและความสุขในการเรียนรู้. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์.

หลักสูตรสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู [ออนไลน์]. Available :www.thapra.lib.su.ac.th. [2560, กรกฎาคม 16]

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2547). แนวทางการพัฒนานครแห่งความรู้. กรุงเทพฯ :ห้างหุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ์.

อำนาจ วิชยานุวัติ. (2562). “หลักสูตรพื้นฐานใหม่ลดเนื้อหาเน้นปฏิบัติค้นหาตัวเอง.”. [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก :https://www.parliament.go.th/News_Hot/news/ news_detail.php?prid=625668 สืบค้น 15 มีนาคม 2563.

เอกนฤน บางท่าไม้. (2561). “การพัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริม

Anderson, L W, & Krathwohl D R. (2001). A Taxonomy for Learning, Teaching, and Assessing: A Revision of Bloom's Taxonomy of Educational Objectives. New York: Longman.

Dewey, J. (1897).My Pedagogic Creed .The School Journal LIV, 3, 77-80

D’ Orio, W. (2013).The Power of Project Learning Scholastic Administrator. Retrieved

fromhttp://www.scholastic.com/browse/article.jsp?id=37517

Dewey, J. (1897).My Pedagogic Creed .The School Journal LIV, 3, 77-80

D’ Orio, W. (2013).The Power of Project Learning Scholastic Administrator. Retrieved

fromhttp://www.scholastic.com/browse/article.jsp?id=37517

Dewey, J. (1897).My Pedagogic Creed .The School Journal LIV, 3, 77-80 D’ Orio, W. (2013).The Power of Project Learning Scholastic Administrator. Retrieved fromhttp://www.scholastic.com/browse/article.jsp?id=37517

Giles, Sunnie. (2018 May 9,). “How VUCA Is Reshaping The Business Environment, And What It Means For Innovation”. สืบค้นเมื่อ 22 ธันวาคม 2564, จาก https://www.forbes.com.

McClelland, David C. (1999). (Online). “Identifying Competencies with Behavioral-event interviews”. Psychological Science, 9(5). [Retrieved December 11, 2005]. fromwww.eiconsortium.org/research/business_case_for_ei.htm.

OECD (2021), Sky's the Limit: Growth mindset, students, and schools in PISA, (Online), Available: https://www.oecd.org/pisa/growth-mindset.pdf Retrieved June 29, 2021.

Organization for Economic Co-operation and Development (OECD). (2020). OECD Future of Education and Skills 2030; Conceptual learning framework; OECD Learning Compass 2030 สืบค้น วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2563. จากhttp://www.oecd.org/education

Sohsomboon, P and Yuenyong, C. (2021). Strategies for Teacher Utilizing Ethnography as a Way of Seeing for STEAM Education. Journal of Physics: Conference Series, 1933 (1), 012080

Sutaphan, S. and Yuenyong, C. (2019). STEM Education Teaching approach: Inquiry from the Context Based. Journal of Physics: Conference Series, 1340 (1), 012003

Suchman, R. J. (1962). The Elementary School Trening Program in Scientific

Inquiry.Illinois: Principal Investigator

Walton, H. & Matthews, M. (1989). Essentials of problem-based learning. Medical Education, 23,542-558.