การวิจัยและพัฒนาเพื่อการสร้างนวัตกรรมการศึกษาของครู
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยและพัฒนาเป็นลักษณะหนึ่งของการวิจัยที่ใช้กระบวนการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ มุ่งพัฒนาทางเลือกหรือวิธีการใหม่ๆเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาและในการสร้างนวัตกรรมและประดิษฐกรรมที่ก่อให้เกิดความเจริญก้าวหน้าของโลกจากอดีตจนถึงปัจจุบันล้วนมีรากฐานมาจากการวิจัยและพัฒนาเกือบทั้งสิ้น นักวิทยาศาสตร์ นักประดิษฐ์หรือนักวิจัยทางการศึกษา ต่างใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา โดยการสังเกตสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์องค์ความรู้ใหม่เพื่อออกแบบนวัตกรรมหรือประดิษฐ์กรรม ทำการทดลอง ทดสอบและปรับปรุง แก้ไขจนเกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพแล้วจึงทำการเผยแพร่และขยายผลแนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนา สามารถสร้างความก้าวหน้าทางความคิดและการคิดค้นประดิษฐกรรมใหม่ๆให้กับศาสตร์ทางด้านวิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรม แพทยศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ศิลปะศาสตร์ การศึกษา และยังมีบทบาทสำคัญต่อการแข่งขันและพัฒนาเทคโนโลยี ทำให้เกิดการพัฒนาความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2555). 80 นวัฒกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: แอเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น.
เดชกุล มัทวานุกูล.(2562). ปิดกล่องชอล์ก : รวมผลงานบทความวิชาการและงานวิจัย (2555-2562)
สำนักพิมพ์สุรินทร์ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงพิมพ์ ส.พันธุ์เพ็ญ, พิมพ์ครั้งที่ 1
ทิศนา แขมณี. (2548). ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
ทิศนา แขมณี. (2540). การวิจัยทางการศึกษา (Educational Research) ใน ทิศนา แขมมณี และ สร้อยสน สกลรัตน์ (บก.). แบบแผนและเครื่องมือการวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปัฐมาภรณ์ พิมพ์ทอง. (2564). การจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา. กรุงเทพฯ: วิสต้า อินเตอร์ ปริ้นท์.
มนสิช สิทธิสมบูรณ์. (2556). การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา. สืบค้นเมื่อ 21 มีนาคม 2563, จาก http://www.nu.ac.th.
ราล์ฟเคทส์. (2550). การบริหารจัดการนวัตกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. แปลจาก Managing Creativity and Innovation โดยณัฐยา สินตระการผล. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.
วาโร เพ็งสวัสดิ์. (2551). วิธีวิทยาการวิจัย. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ตถาตา.
วิชัย วงษ์ใหญ่ และ มารุต พัฒผล. (2562). การพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. สะเต็มศึกษากับกระบวนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21.สืบค้นเมื่อ 14 กันยายน 2563, จาก https://www.scimath.org/articlestem/item/9112-21.
สำราญ กาจัดภัย. (2556). เอกสารประกอบการสอนหลักสูตรการวิจัยในชั้นเรียน (ฉบับที่ 3). สกลนคร : คณะครุศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
สุคนธ์ สินธพานนท์. (2556). นวัตกรรมการเรียนรู้สู่การพัฒนาการศึกษา. สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2556, จาก http://sites.google.com/site/ supoldee/supoldee/nwatkrrm-reiyn-.
สุมน อมรวิวัฒน์. (2558). การจัดการเรียนรู้ของครูยุคใหม่เพื่อพัฒนาทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: เทคนิคพริ้นติ้ง.
สุวิมล ว่องวาณิช. (2551). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อัจฉราภรณ์ ต้นกันยา, สุภาภรณ์ มาอุ้ย และ โชคชัย ยืนยง. (2565). การพัฒนาการเรียนรู้มโนมติและตัวแทนความคิดวิทยาศาสตร์เรื่อง การแยกสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพครู, 2(1), 1-14.
อุทัย ดุลยเกษม. (2550). การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา. วารสารการศึกษาและพัฒนา สังคม, 3(1), 9-16.
Bulkley, K. E., & Hicks, J. (2005). Managing community: Professional community in charter schools operated by educational management organizations. Educational Administration Quarterly, 41(2), 306-348.
Duc, N. M., Linh, N. Q., & Yuenyong, C. (2019). Implement of STEM education in Vietnamese high school: unit of acid-base reagent from purple cabbage. Journal of Physics: Conference Series, 1340(1), 012029.
Hord, S. M. (1997). Professional learning communities: Communities of inquiry and improvement. Austin: Southwest Educational Development Laboratory.
Hord. Hradec Kralove, Czech Republic. Dufour, R. (2007). Professional learning communities: A Bandwagon, an Idea Worth Considering, or Our Best Hope for High Levels of Learning?. Middle School Journal (J1), 39(1), 4-8.
Hoy, W. K., & Miskel, C. G. (2001). Educational administration: Theory, research, and practice. New York: McGraw-Hill.
Mahdjoubi, D. (2009). Four types of R & D. Austin, Texas: Research Associate, IC2 Institute.
Martin, M. (2011). Professional learning communities. In Contemporary Issues in Learning and Teaching. pp.142-152. London: sage.
McLaughlin, M. W., & Talbert, J. E. (2006). Building school-based teacher learning Communities: Professional strategies to improve student achievement (Vol. 45). Columbia: Teachers College Press.
McMillan, J. H. (2000). Educational research: Fundamentals for the consumer. 3rd ed. New York:
OECD/CERI. (2004). Innovation in the knowledge economy: Implications for education and learning systems. Paris.
OECD/CERI. (2004). National review on educational R & D: Examiners’ report on denmark. Paris.
Setiawan, A. M., Yuenyong, C., Sutaphan, S., & Yuenyong, J. (2021). Developing lesson plan of the biogas from animal’s dung STEM education. Journal of Physics: Conference Series, 1835(1), 012044.
Sohsomboon, P., & Yuenyong, C. (2021). Strategies for Teacher Utilizing Ethnography as a way of seeing for STEAM education. Journal of Physics: Conference Series, 1933 (1), 012080 (SCOPUS).
Sutaphan, S. & Yuenyong, C. (2019). STEM education teaching approach: Inquiry from the context based. Journal of Physics: Conference Series, 1340 (1), 012003 (SCOPUS).
Sutaphan, S., & Yuenyong, C. (2021). Examine pre-service science teachers’ existing ideas about STEM education in school setting. Journal of Physics: Conference Series 1835(1), 012002 (SCOPUS).
Suwimon, W., Ornuma, J., & Ujsara, P. (2011). Synthesis the research of educational innovation development for improve teacher according to educational reform guidelines. Bangkok: The Thailand Research Fund.
Trilling, B., & Fadel, C. (2009). 21th century skills: Learning for life in our time. Sanfancisco, John Wiley & Sons.
Tupsai, J., Bunprom, S., Saysang, J., & Yuenyong, C. (2019). Students’ applying STEM knowledge in learning on the STS-STEM education wave learning unit. Journal of Physics: Conference Series, 1340(1), 012054.
Tupsai, J., Yuenyong, C., & Taylor, P.C. (2015). Initial implementation of constructivist physics teaching in Thailand: A case of bass pre-service teacher. Mediterranean Journal of Social Sciences, 6(2), 506-513.
Udomkan, W., Suwannoi, P., Chanpeng, P., & Yuenyong, C. (2015). Thai pre-service chemistry teachers’ constructivist teaching performances. Mediterranean Journal of Social Sciences, 6(4 S3), 223-232.
Whitworth, A. (2014). Invisible success: Problems with the grand technological innovation in higher education. Computer and Education, 59(1), 145-155.
Yuenyong, C. (2019). Lesson learned of building up community of practice for STEM education in Thailand. Retrieved June 17, 2020, from https://doi.org/10.1063/ 1.5093997.