นวัตกรตัวน้อย : ส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์อย่างไรในวัยอนุบาล

Main Article Content

ศิริธร สุตตานนท์

บทคัดย่อ

ความคิดสร้างสรรค์มีอยู่ในตัวเราทุกคน ความคิดสร้างสรรค์มีลักษณะเป็นความคิดแบบอเนกนัย (Divergent Thinking) ซึ่งเป็นการคิดที่แปลกใหม่ หลายทิศทาง สามารถมองเห็นแนวทางการแก้ปัญหาได้ในแนวกว้าง ภายใต้ระยะเวลาที่จํากัด สามารถเชื่อมโยงและขยายความคิดที่มีอยู่ให้สมบูรณ์มากขึ้น ความคิดลักษณะนี้มีคุณค่าต่อการพัฒนาประเทศ เนื่ องจากความคิดสร้างสรรค์เป็นที่ มาของนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ จําเป็นต่อการดํารงชีวิต การเปิดโอกาสให้เด็กได้คิดและตัดสินใจด้วยตนเอง ภายใต้การดูแลของผู้ใหญ่ที่ตระหนักถึงความสําคัญในคุณค่าของความคิดสร้างสรรค์ คอยสนับสนุน ให้กําลังใจ ให้โอกาสและเวลาอย่างเพียงพอ และเหมาะสม โดยเริ่ มจากการกําหนดคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ด้านการคิดที่ มีคุณภาพ ให้กับเยาวชนของชาติประกอบการพิจารณาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ในส่วนที่เป็นประสบการณ์สําคัญและสาระที่ควรเรียนรู้เพื่อการออกแบบ และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่เหมาะสมกับวัย ช่วงความสนใจ ความแตกต่างระหว่างบุคคลของเด็กปฐมวัย ภายใต้การจัดสภาพแวดล้อมที่สอดคล้องกับพัฒนาการตามวัย ประกอบการใช้คําถามที่ฝึกให้เด็กคิดและหาคําตอบด้วยตนเองอย่างสม่ําเสมอ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อตัวเด็กเอง สังคม และประเทศ

Article Details

บท
Academic Article

References

กรภัสสร อินทรบำรุง. 2563. “ความคิดสร้างสรรค์ : ส่งเสริมอย่างไรในวัยอนุบาล.” วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 18 (1): 9-30.

กรรณิการ์ สุสม. 2550. เอกสารประกอบการบรรยายในรายวิชาศิลปะสำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.

กุลยา ตันติผลาชีวะ. 2551. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มิตรสัมพันธ์กราฟฟิค.

ชลธิชา ชิวปรีชา. 2554. ความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยที่ทำกิจกรรมศิลปะด้วยใบตอง. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ทองเลิศ บุญเชิด. 2541. ผลการใช้ชุดกิจกรรมที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านซับสนุ่น จังหวัดสระบุรี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

นฤมล ไกรฤกษ์. 2558. การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมศิลปะต่างรูปแบบ โรงเรียนวัดดุสิตาราม. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาราชภัฎธนบุรี.

บุญไท เจริญผล. 2549. ศิลปะสำหรับเด็กปฐมวัย. พระนครศรีอยุธยา: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา.

เบญจา แสงมลิ. 2550. การพัฒนาเด็กปฐมวัย. นนทบุรี: เกรทแอ็ดดูเคชั่น.

ประสิทธิรักษ์ เจริญผล. 2547. ความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ต่อเติมด้วยลายเส้น. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย, มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ.

ปัทมา อินทร์แช่มช้อย. 2562. การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์วิชาคอมพิวเตอร์ โดยใช้แนวคิดของกาเย่ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

พัฒน์นรี จันทราภิรมย์. 2559. การศึกษาผลของการใช้นิทานเพื่อพัฒนาด้านความคิดสร้างสรรค์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

วาสนา ประจงหัตถ์. 2557. ผลของการจัดกิจกรรมศิลปะการต่อเติมภาพให้สมบูรณ์ที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ของเด็กอนุบาลชั้นปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.

วีณา ประชากูล. 2547. ผลของการเล่นวัสดุปลายเปิดที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย, มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2550. แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สุพพัต สกุลดี. 2561. การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับอนุบาล 1 โดยผ่านการเล่านิทาน. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

อารี พันธ์มณี. 2537. ความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ 1412.

อารี พันธ์มณี. 2545. ฝึกให้คิดเป็น คิดให้สร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร: ใยไหม.

Guilford, J, P. Fundamental Statistics in Psychology and Education. New York: McGraw-Hill.

Guilford, J. P. The Nature of Human Intelligence. New York: McGraw Hill.

Torrance, E. P. Encouraging Creativity in the Classroom. Dubugue, lowa : William C. Brown.

Sutaphan, S., & Yuenyong, C. (2023). Enhancing grade eight students’ creative thinking in the water stem education learning unit. Cakrawala Pendidikan: Jurnal Ilmiah Pendidikan, 42(1), 120-135. DOI: https://doi.org/10.21831/cp.v42i1.36621