การออกแบบกิจกรรมการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย แบบบูรณาการตามกรอบการเรียนรู้สะเต็มศึกษา

Main Article Content

ศิริธร สุตตานนท์ สุตตานนท์

บทคัดย่อ

การศึกษาปฐมวัย คือ การวางรากฐานการเรียนรู้ให้กับเด็กเพื่อพัฒนาศักยภาพในการคิด และการเรียนรู้ตลอดชีวิต การจัดการเรียนรู้ที่จะพัฒนาทักษะผู้เรียนให้มีความพร้อมในการศตวรรษที่ 21 ด้วยการเรียนรู้ผ่าน สะเต็มศึกษา (STEM Education) เป็นสิ่งสำคัญที่สามารถวางรากฐานตั้งแต่ระดับการศึกษาปฐมวัย บทความนี้นำแนวคิดการคิดการออกแบบกิจกรรมการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย แบบบูรณาการกรอบการเรียนรู้สะเต็มศึกษา ผ่านแนวทาง การจัดประสบการณ์การเรียนรู้บูรณาการวิทยาศาสตร์ในระดับปฐมวัย  การจัดประสบการณ์การเรียนรู้บูรณาการคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย  การจัดประสบการณ์การเรียนรู้บูรณาการวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย

Article Details

บท
Article

References

กระทรวงศึกษาธิการ. 2559. แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564). กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.

จำรัส อินทลาภาพร และคณะ. 2558. “การศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษาสำหรับผู้เรียนระดับประถมศึกษา.” วารสารวิชาการสาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ. 8 (1): 62-74.

จิตตวิสุทธิ์ วิมุตติปัญญา. 2562. “การพัฒนาเด็กปฐมวัยด้วยสะเต็มศึกษาบูรณาการกับแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของชุมชน.” วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. 6 (1): 3-23.

วิชญาพร อ่อนปุย. 2562. “การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิด STEM Education เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงระบบของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย.” วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับบัณฑิตศึกษา) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 7 (3): 183-193.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2557. ความรู้เบื้องต้นสะเต็ม. กรุงเทพมหานคร: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2563. กรอบการเรียนรู้และแนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท โกโก้พริ้นท์ (ไทยแลนด์) จำกัด.

Nugraheni, A R E, and Yuenyong, C. (2022). Developing the Smog Problem in Indonesia STEM Education Learning Activity. Asia Research Network Journal of Education, 2 (3), 127-134

Phan, T.T., Nguyen, M.D., Yuenyong, C., Nguyen, T. K., Nguyen, T.T. (2021). Development of STEM education learning unit in context of Vietnam Tan Cuong Tea village. Journal of Physics: Conference series, IOP publishing, 1835 (1), 012060

Suparee, M., and Yuenyong, C. (2021). Enhancing Grade 11 Students’ Learning and Innovation Skills in the STS Electric Unit. Asia Research Network Journal of Education, 1 (2), 96-113

Sutaphan, S. and Yuenyong, C. (2019). STEM Education Teaching approach: Inquiry from the Context Based. Journal of Physics: Conference Series, 1340 (1), 012003

Sutaphan, S. and Yuenyong C. (2021). Examine pre-service science teachers’ existing ideas about STEM education in school setting. Journal of Physics: Conference Series, 1835 (1), 012002

Sutaphan, S. and Yuenyong, C. (2023). Enhancing grade eight students’ creative thinking in the water stem education learning unit. Cakrawala Pendidikan: Jurnal Ilmiah Pendidikan, 42(1), 120-135.

Theerasan C. and Yuenyong, C. (2019). Developing the Floating Restaurant STEM Education Learning Activities for Thai Secondary School Students. AIP Conference Proceedings. 2081, 030023-1– 030023-6.

Villaruz, E.J., Cardona, M.C.F., Buan, A.T., Barquilla, M.B., Yuenyong, C. (2019). Ice Cream STEM Education Learning Activity: Inquiry from the Context. Journal of Physics: Conference Series, 1340 (1), 012092

Williams, P. J. (2011). STEM education: Proceed with caution. Design and Technology Education, 16(1), 26–35.

Yuenyong, C. (2019). Lesson learned of building up community of practice for STEM education in Thailand. AIP Conference Proceedings. 2081, 020002-1 – 020002-6.