ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดและความไว้วางใจและขั้นตอนการตัดสินใจซื้อวัสดุก่อสร้างที่นำเข้าจากประเทศจีนของผู้ซื้อวัสดุก่อสร้างใน อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี

ผู้แต่ง

  • สรศักดิ์ สหชัยรุ่งเรือง
  • ศักดิ์ชาย จันทร์เรือง วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

DOI:

https://doi.org/10.14456/mjba.2020.4

คำสำคัญ:

ส่วนประสมทางการตลาด, ความไว้วางใจ, การตัดสินใจซื้อ

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ศึกษาความเห็นของผู้ซื้อวัสดุก่อสร้างในอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ถึงการให้ความสำคัญกับใช้ส่วนประสมทางการตลาด ความไว้วางใจ และขั้นตอนการตัดสินใจซื้อวัสดุก่อสร้างที่นำเข้าจากประเทศจีน

          การวิจัยครั้งนี้ใช้แบบสอบถามจากผู้ซื้อวัสดุก่อสร้างในอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี จำนวน 440 คน และรวบรวมข้อมูลมาทำการวิเคราะห์โดยใช้สถิติ ค่าความถี่ ค่าสถิติร้อยละ พบว่ากลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 35-39 ปี สถานภาพสมรส มีอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน มีการศึกษาระดับปริญญาตรี และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001-30,000 บาท

          ผลการวิจัยพบผู้ซื้อวัสดุก่อสร้างให้ความสำคัญกับส่วนประสมทางการตลาดในระดับ “มาก” โดยเฉพาะการให้บริการมากที่สุดให้ความสำคัญระดับ “มากที่สุด” ส่วนความไว้วางใจให้ความสำคัญในระดับ “มาก” ทุกประเด็น และให้ความสำคัญกับขั้นตอนการตัดสินใจซื้ออยู่ในระดับ “ปานกลาง” โดยเฉพาะด้านการติดตามและประเมินผลของการดำเนินการ ด้านการทำความเข้าใจในปัญหา และข้อเท็จจริงต่าง ๆ และด้านการดำเนินการให้เป็นไปตามผลของการตัดสินใจ ที่ให้ความสำคัญในระดับ “มาก” เรียงตามลำดับ

References

กมลภพทิพย์ ปาละ. (2555). กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภคในอำเภอเมืองเชียงใหม่ในการซื้อกล้องสะท้อนภาพเลนส์เดี่ยวระบบดิจิทัล. (การค้นคว้าแบบอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ฉัตยาพร เสมอใจ และฐิตินันท์ วารีวนิช. (2551). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ฐิตินันท์ วารีวนิช. (2551). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2542). ทฤษฎีองค์การ. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

ธนภูมิ จงเจริญ. (2560). ส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้คอนกรีตผสมเสร็จของลูกค้าในจังหวัดเพชรบุรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.

ธวัลวรัตน์ อินทนนชัย. (2552). การโฆษณาเครื่องดื่มชูกําลังและการบริโภคมายาคติของผู้ขับรถรับจ้างสี่ล้อในจังหวัดเชียงใหม่. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

นลินรัตน์ ศรีมุกข์. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อกระจกแปรรูปของผู้บริโภค ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ปรียาพร จิระไพทูรย์. (2557). การวางแผนกลยุทธ์ทางการตลาดเพื่อเพิ่มยอดขายของร้านจีระพาณิชย์ อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 1(2), 35-4.

พิศุทธิ์ อุปถัมภ์. (2556). ความไว้วางใจและลักษณะธุรกิจผ่านสื่อสังคมออนไลน์ที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าผ่านสื่อสังคมออนไลน์. คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ภัทธีรา ประพฤติธรรม. (2559) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อเครื่องดื่มกาแฟพร้อมดื่มของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าแบบอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสยาม.

ภาณุ เกริกสกุล. (2554). ปัจจัยทางด้านการตลาดที่มีอิทธิพลต่อลูกค้าในการตัดสินใจเลือกใช้บริการธุรกิจร้านค้าวัสดุก่อสร้างในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำพูน. วารสารบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ราชมงคลล้านนา, 8(2), 13-31.

รัชชวิชญ์ นิธิกุล. (2556). ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกร้านค้าวัสดุก่อสร้างของลูกค้าในเขตอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี. (ปัญหาพิเศษปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.

วิไล จิระวัชร. (2548). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการสินเชื่อที่อยู่อาศัยกับธนาคารกรุงไทยในเขตอาเภอศรีราชา. (ปัญหาพิเศษปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.

ศศิภา จินดาศักดิ์ชัย. (2556). การตัดสินใจซื้อวัสดุก่อสร้างของลูกค้าบริษัท พรชัยวัสดุภัณฑ์ จำกัด. (การค้นคว้าแบบอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

ศิริกาญจน์ รัชตวิศาล. (2554). การตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ปูนซีเมนต์ของผู้บริโภคในจังหวัดกระบี่. (การค้นคว้าแบบอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2553). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์, ศุภร เสรีรัตน์, องอาจ ปทะวานิช และปริญ ลักษิตานนท์. (2541). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ: บริษัทธีระฟิล์มและไซเท็กซ์จำกัด.

ศุภเจตน์ จันทร์สาส์น. (2555). การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรและความท้าทายในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย. วารสารนักบริหาร, 32(3), 1-11.

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2561, กรกฎาคม 3). ธุรกิจวัสดุก่อสร้าง ปรับกลยุทธ์รุกและรับฝ่าเศรษฐกิจครึ่งปีหลัง 61. สืบค้นจาก https://www.kasikornbank.com/th/business/sme/KSMEKnowledge/article/KSMEAnalysis/Documents/ConstructionMaterialStrategy.pdf

สิริภา กิจประพฤทธิ์กุล. (2556). ส่วนประสมทางการตลาดบริการ ทัศนคติ และแรงจูงใจในการท่องเที่ยวที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเดินทางไปท่องเที่ยวที่ประเทศเกาหลีของนักท่องเที่ยวชาวไทยในกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

สุกฤษฎิ์ เดิงขุนทด. (2554). พฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าในกลุ่มผู้จําหน่ายวัสดุก่อสร้างในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย.

สุดาพร กุณฑลบุตร. (2552). หลักการตลาด (สมัยใหม่). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุพจน์ กาญจนางกูรพันธุ์. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อวัสดุก่อสร้างในช่องทางการจำหน่ายแนวใหม่ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. (การค้นคว้าแบบอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเนชั่น.

สุรเดช บัวพันธุ์วิไล. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าวัสดุก่อสร้างจากร้าน ซีเมนต์ไทย โฮมมาร์ทของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าแบบอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสยาม.

โสภิตา รัตนสมโชค. (2558). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ (บีทีเอส) ของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร.(การค้นคว้าแบบอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อดุลย์ จาตุรงกุล. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อารีรัตน์ สุขพิริยกุล. (2560). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่สำคัญในการซื้อสินค้าวัสดุก่อสร้างของร้านค้าปลีกจากร้านค้าส่งวัสดุก่อสร้างในจังหวัดสมุทรปราการ. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

เอกรัฐ วงศ์วีระกุล. (2553). ปัจจัยการตัดสินใจเลือกใช้บริการสินเชื่อที่อยู่อาศัยกับธนาคารพาณิชย์ของคนทำงานในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

โอฬาร ธูปะเตมีย์. (2550). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อของลูกค้าร้านจำหน่ายวัสดุก่อสร้างในอำเภอพระนครศรีอยุธยา. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

Knowchinese. (2560, กันยายน 17). ตลาด วัสดุตกแต่ง. สืบค้นจาก http://www.knowchinese.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538655801&Ntype=4

Kotler,Philip. (2003). Marketing Management. (11th ed.). New Jersey: Prentice Hall Inc.

Moorman, C., Deshpande, R. and Zaltman, G. (1992). Relationships between providers and users of market research: the dynamics of trust within and between organizations. Journal of Marketing Research, 29(3), 314-28.

Morgan. & Hunt. (1994). The Commitment-Trust Theory of Relationship Marketing. Journal of Marketing, 58(July), 20-30.

Stern,D. I. (1997). Interpreting ecological economics in the neoclassical paradigm: limits to substitution and irreversibility in production and consumption.Ecological Economics 21, 197-215.

Yamane,Taro (1967). Statistic: An Introductory Analysis. New York: Harper & row.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-11-10

How to Cite

สหชัยรุ่งเรือง ส., & จันทร์เรือง ศ. (2021). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดและความไว้วางใจและขั้นตอนการตัดสินใจซื้อวัสดุก่อสร้างที่นำเข้าจากประเทศจีนของผู้ซื้อวัสดุก่อสร้างใน อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี. Maejo Business Review, 2(1), 53–66. https://doi.org/10.14456/mjba.2020.4