ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจใช้บริการแอปพลิเคชัน ALIST OPAC

ผู้แต่ง

  • อรญา สุวรรณโณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • ปาทิตตา สุขสมบูรณ์ Prince of Songkla University
  • พิสชา เชาวน์วุฒิกุล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

DOI:

https://doi.org/10.14456/mjba.2023.7

คำสำคัญ:

การยอมรับและการใช้เทคโนโลยี, คุณภาพบริการอิเล็กทรอนิกส์, ความตั้งใจใช้บริการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, แอปพลิเคชัน ALIST OPAC

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจใช้บริการแอปพลิเคชัน ALIST OPAC ซึ่งเป็นวิจัยเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ใช้บริการของสำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทรที่เคยใช้บริการแอปพลิเคชัน ALIST OPAC จำนวน 385 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Linear Regression) กำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยความเป็นส่วนตัวและปัจจัยสภาพสิ่งอำนวยความสะดวก ส่งผลต่อความตั้งใจใช้บริการแอปพลิเคชัน ALIST OPAC อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เป็นอันดับ 1 และอันดับ 2 ตามลำดับ

References

กนกกาญจน์ เกตุแก้ว, วิษณุพงษ์ โพธิพิรุฬห์, และ สุวิต ศรีไหม. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับโปรแกรมบนมือถือ. วารสารวิทยาการจัดการ. 37(1), 163-186.

กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2563). รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยในปี 2562. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม.https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/publications/Thailand-Internet-User-Behavior-2019_Th.aspx?viewmode=0

กรัณฑรัตน์ รังสิยารมณ์. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับแอปพลิเคชัน SCB EASY กรณีศึกษาผู้ใช้บริการธนาคารไทยพาณิชย์. [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2549). สถิติสำหรับงานวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 2). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กิตติศักดิ์ คุณาฤทธิพล. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจในการใช้แอพพลิเคชัน BU Mobile. [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

เกียรติสุดา ศรีสุข. (2552). ระเบียบวิธีวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 2). โรงพิมพ์ครองช่าง.

นัทวัฒน์ นคราวงศ์. (2560). การกระตุ้นความตั้งใจซื้อสินค้าแบรนด์เนมโดยใช้กลยุทธ์การตั้งราคาต่ำกว่าจำนวนเต็ม. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

พิมพ์พรรณ สุวรรณศิริศิลป์. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับและใช้งานบริการแบบพร้อมเพย์. [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พิรงรอง รามสูตร (2565) แพลตฟอร์มดิจิทัล, วารสารกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์, 1(2), 1-39.

พิสิฐ ตั้งพรประเสริฐ. (2563). M-Learning: บทบาทใหม่การเรียนการสอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 18(1), 90-105. Thai Journal Online. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/suedujournal/article/view/185206

สำนักนวัตกรรมดิจิทัลและระบบอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (2559). คู่มือการติดตั้งและใช้งาน Application ALIST OPAC. สำนักนวัตกรรมดิจิทัลและระบบอัจฉริยะ. https://opac.psu.ac.th/Manual/User_ALIST_OPAC_Application_Manual.pdf

สำนักนวัตกรรมดิจิทัลและระบบอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (2562). ระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อสถาบันอุดมศึกษาไทย ความเป็นมาของระบบห้องสมุด (ปรับปรุงเมื่อ พฤษภาคม 2554). สำนักนวัตกรรมดิจิทัลและระบบอัจฉริยะ. https://alist.psu.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=93&

สำนักนวัตกรรมดิจิทัลและระบบอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (2564). ความเป็นมาของระบบห้องสมุด. สำนักนวัตกรรมดิจิทัลและระบบอัจฉริยะ. https://alist.psu.ac.th/home/history

สำนักนวัตกรรมดิจิทัลและระบบอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (2565). หน่วยงานที่ใช้ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ALIST. สำนักนวัตกรรมดิจิทัลและระบบอัจฉริยะ. https://alist.psu.ac.th/home/site-reference

สุธาสินี ตุลานนท์. (2562). การยอมรับเทคโนโลยีที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้สูงอายุ. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

สุมาลิน กางทอง. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้โมบายแอพเพื่อการจองคิวของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

สุรัติ กอบการุณ. (2557). อิทธิพลของคุณภาพการให้บริการ การใช้งาน ความพึงพอใจ ต่อประโยชน์สุทธิของผู้ใช้งานแอปพลิเคชันในการจองโรงแรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยเอกชนในกรุงเทพมหานคร. [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

วงหทัย ตันชีวะวงศ์ (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต. คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วราพรรณ อภิศุภะโชค และศิริพร เลิศไพศาลวงศ์. (2560). คุณภาพบริการอิเล็กทรอนิกส์ของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา. วารสารมนุษยศาสตร์, 21(2), 30-47. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/abc/article/view/77865

วิไลลักษณ์ ไชยเสน. (2562). การวัดความคุ้มค่าและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการระบบห้องสมุดอัตโนมัติ เพื่อสถาบันอุดมศึกษาไทย (ALIST) กรณีศึกษา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. วารสารวิชาการ ปขมท., 8(3), 1–9. http://www.council-uast.com/journal/upload/fullpaper/

-10-2019-903522683.pdf

อังค์ริสา แสงจำนงค์. (2565). การแยกแยะข่าวจริงข่าวปลอมและการเกิดการรับรู้เชิงปฏิบัติการตามข่าว ของกลุ่มนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสารกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์, 1(1), 54-79.

อัครเดช ปิ่นสุข. (2557). การยอมรับเทคโนโลยี คุณภาพการบริการอิเล็กทรอนิกส์ และส่วนประสมทางการตลาดในมุมมองของลูกค้าที่ส่งผลต่อความพึงพอใจ (E-Satisfaction) ในการจองตั๋วภาพยนตร์ออนไลน์ผ่านระบบแอพพลิเคชั่นของผู้ใช้บริการในจังหวัดกรุงเทพมหานคร. [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

Ajzen, I., & Fishbein, M. (1975). Belief, Attitude, Intention, and Behavior: An Introduction to theory and research. MA: Addison-Wesley.

Ajzen, I., & Fishbein, M. (1980). Understanding attitudes and predicting social behavior. Prentice-Hall.

Chang, Chiao-Chen (2013). Library mobile applications in university libraries. Emerald. https://www.emerald.com/insight/content/doi/10.1108/LHT-03- 2013-0024/full/html

Fitzsimons, G. J., & Morwitz, V. G. (1996). The Effect of Measuring Intent on Brand-Level Purchase Behavior. Journal of Consumer Research, 23(1), 1-11.

Gronroos. (1982). Strategic Management and Marketing in the Service Sector. Swedish School of Economics and Business Administration.

Guo, H., Huang, X., & Craig, P. (2015). Factors Influencing the user acceptance of alipay. [Paper presented] The International Conference on Economy, Management and Education Technology, Bali, Indonesia.

Kumari, S. (2012). Multicollinearity: Estimation and Elimination, Journal of Contemporary Research in Management, 3(1), 87-95.

Parasuraman, A., Zeithaml, V. A. & Malhotra, A. (2005). E-S-QUAL: A Multiple-Item Scale for Assessing Electronic Service Quality. Journal of Service Research, 7(3), 213–234.

Pearson, A., Tadisina, S., & Griffin, C. (2012). The role of e-service quality and information quality in creating perceived value: antecedents to web site loyalty. Information Systems Management, 29(3), 201-215.

Rogers, E. M. (2003). Diffusion of Innovations (5th ed.). Free Press.

Spechler, J. W. (1988). When America Does It Right: Case Studies in Service Quality. Institute of Industrial Engineer.

Venkatesh, V., Morris, M. G., Davis, G. B., & Davis, F. D. (2003). User acceptance of information technology: Toward a unified view. MIS quarterly, 27(3), 425-478.

We are social. (2021). Digital 2021 Global Overview Report. We are social. https://datareportal.com/reports/digital-2021-thailand

Yeh, M. L., & Tseng, Y. L. (2017). The college student’s behavior intention of using mobile payments in Taiwan:an exploratory research. [Paper presented] The IASTEM International Conference, Singapore.

Yoo, B. & Donthu, N. (2001). Developing a scale to measure the perceived quality of an internet shopping site (SITEQUAL). Researchgate. https://www.researchgate.net/publication/253950208

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-29

How to Cite

สุวรรณโณ อ., สุขสมบูรณ์ ป., & เชาวน์วุฒิกุล พ. (2023). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจใช้บริการแอปพลิเคชัน ALIST OPAC. Maejo Business Review, 5(1), 137–154. https://doi.org/10.14456/mjba.2023.7