A STUDY TO COMPARE THE TEACHER SPIRITUALITY OF TEACHERS UNDER THE OFFICE OF CHACHOENGSAO PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA 1 AND GOOD TEACHER

Main Article Content

Kanporn Aiemphaya
Niwat Noymanee
Porntip Onkasem
Kampanat Watchrhathanakome

Abstract

The purposes of this study were to 1) study the spiritual level of teachers under the Office of Chachoengsao Primary Educational Service Area 1, 2) study the spiritual level of good teachers, 3) compare the spiritual level of the teachers under the Office of Chachoengsao Primary Educational  Service Area 1 and good teachers, and 4) compare the spiritual level of teachers under the Office of Chachoengsao Primary Educational Service Area 1, both  before and after the development. The results indicated that 1) The spiritual level of teachers under the Office of Chachoengsao Primary Educational Service Area 1 was at high level. When considering each aspect, it was found that the moral aspect was at highest level, while the behavior and knowledge aspects were at high level. 2) The spiritual level of good teachers, both overall and individual aspects were at the highest level, which can be ranked from high to low as follows: moral, behavior, and knowledge aspects. 3) The results of comparative study between the spiritual level of teachers under the Office of Chachoengsao Primary Educational Service Area 1 and good teachers showed that they were statistically significant differences at the .05 level. 4) The results of comparative study on the spiritual level of teachers under the Office of Chachoengsao Primary Educational Service Area 1, both before and after the development showed that the spiritual level after the development of teachers was significantly higher than before the development at the .05 level.

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Article)
Author Biography

Kanporn Aiemphaya, Master of Education Program in Educational Administration in Rajanagarindra Rajabhat University Chachaengsao, Thailand

ประวัติและประสบการณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กัญภร เอี่ยมพญา

 

  1. ชื่อ-นามสกุล ตำแหน่งทางวิชาการ อายุ ตำแหน่งหน้าที่งานในปัจจุบัน

    1.1 นางกัญภร เอี่ยมพญา

          Mrs. Kanporn Aiemphaya

    1.2 ตำแหน่งทางวิชาการ

         ผู้ช่วยศาสตราจารย์  

    1.3 อายุ

         48 ปี 

    1.4 ตำแหน่งหน้าที่งานในปัจจุบัน

         1.4.1 รองคณบดี บัณฑิตวิทยาลัย

         1.4.2 ประธานหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

           สังกัด มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะครุศาสตร์ ถ.มรุพงษ์ ต.หน้าเมือง อ. เมือง จ.ฉะเชิงเทรา 24000 

           ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) e-mail : kanporn2512@gmail.com

           เบอร์ติดต่อ 061-9649191

 

  1. ประวัติการศึกษา

ที่

ปีที่สำเร็จการศึกษา

คุณวุฒิ(สาขาวิชา)

สถาบันการศึกษา

1.

2552

ศษ.ด.(บริหารการศึกษา)

มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

2.

2541

Grauduate Diploma of Science.(Interdisciplinary Studies.)

Edith Cowan University.   Perth Western Australia.

3.

2536

นศ.ม.(การโฆษณา)

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

4.

  2534  

ศศ.บ.(ศิลปะ)

มหาวิทยาลัยบูรพา

 

  1. ประสบการณ์ด้านการบริหาร

ที่

ปีที่ทำงาน

ตำแหน่ง

สถานที่ทำงาน

1.

2540 – 2552

ประธานสาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

2.

2552 – ปัจจุบัน

ประธานสาขาวิชาพื้นฐานและการบริหารการศึกษา

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

3.

2555 – ปัจจุบัน

ประธานหลักสูตรครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

4.

2558 - 2560

กรรมการสภาวิชาการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

5.

2560 – ปัจจุบัน

รองคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

  1. ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา

    4.1 เป็นกรรมการประเมินภายในระดับสาขาวิชา

    4.2 เป็นกรรมการประเมินภายในระดับคณะวิชา

    4.3 เป็นประธานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ที่ต้องเข้ารับการประเมิน

    4.4 เป็นกรรมการบริหารระดับบัณฑิตศึกษา ที่ต้องเข้ารับการประเมิน

 

  1. ประสบการณ์ด้านงานวิชาการ

    5.1 ผลงานวิจัย

Aiemphaya, K. (1012).  A Learning Process Suitable for Content in Education Law Course. Proceeding: The 4th Annual Asian Conference on Education. Osaka Japan.

กัญภร เอี่ยมพญา และนิวัตต์ น้อยมณี. (2559). รูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมต่อการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนระดับประถมศึกษาในจังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสารราชนครินทร์.13(30). กรกฎาคม-ธันวาคม 2559. ทุนวิจัยงบแผ่นดิน ของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

กัญภร เอี่ยมพญา นิวัตต์ น้อยมณี และพจนีย์ มั่งคั่ง. (2560). การพัฒนาศักยภาพครูตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของคุรุสภาที่เหมาะสมต่อครูประถมในสถานศึกษา กรณีศึกษาโรงเรียนอนุบาลวัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์.วารสารปัญญาภิวัฒน์. 9(2)พฤษภาคม-สิงหาคม 2560.

สุเทพ สุริโยรัตนโนภาส, กัญภร เอี่ยมพญา และนิวัตต์ น้อยมณี. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่าง

แบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษากับโรงเรียนคุณภาพ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 10(1). หน้า 175-178.

เวฬุรีย์ อุปถัมภ์. กัญภร เอี่ยมพญา และนิวัตต์ น้อยมณี. (2559). การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ

เพื่อการศึกษาที่ส่งผลต่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ของสถานศึกษา สังกัดอาชีวศึกษา จังหวัดฉะเชิงเทรา.วารสารบัณฑิตวิทยาลัยพิชญทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบราชธานี. 11(2). หน้า 117-125.

สุนันทา เจริญจิตรโสภณ, กัญภร เอี่ยมพญา และนิวัตต์ น้อยมณี. (2559). การบริหารสถานศึกษา

โดยใช้โรงเรียนเป็นฐานที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียนของครู สังกัดสำนักงานเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร. วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. 10(2). หน้า 125-134.

อาคม รักษาพล, กัญภร เอี่ยมพญา และนิวัตต์ น้อยมณี. (2559). ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหาร

สถานศึกษาที่ส่งผลต่อการดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดอาชีวศึกษา จังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสารบัณฑิตวิทยาลัยพิชญทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบราชธานี. 11(1). หน้า 116-125.

 

 

 

จิรนันท์ มั่งมีผล. กัญภร เอี่ยมพญา และนิวัตต์ น้อยมณี. (2559). คุณลักษณะผู้นำการเปลี่ยนแปลง

ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1. วารสารบัณฑิตวิทยาลัยพิชญทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบราชธานี. 11(1). หน้า 19-28.

 

    5.2 ผลงานหนังสือ/ตำรา

กัญภร เอี่ยมพญา. (2556). ธรรมาภิบาลในสถานศึกษา. ฉะเชิงเทรา : บริษัทเอ็มเอ็น คอมพิวออฟเซท

           จำกัด. 197 หน้า. ISBN : 978-616-348-728-5.

กัญภร เอี่ยมพญา. (2556). การศึกษาและความเป็นครู. เอกสารประกอบการสอน. มหาวิทยาลัยราชภัฏ  

           ราชนครินทร์. 273 หน้า.

นิวัตต์ น้อยมณี และ กัญภร เอี่ยมพญา. (2560). จิตวิญญาณครู. นนทบุรี : 21 เซนจูรี่.

 

    5.3 ประสบการณ์การเป็นวิทยากร

             1) เป็นวิทยากรบรรยาย ในหัวข้อ จิตวิญญาณครู ให้กับครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1, ครูของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 6 และบรรยายให้กับอาจารย์ของมหาวิทยาลัยเอกชน

             2) เป็นวิทยากรบรรยาย ในหัวข้อ จิตวิญญาณครู ให้กับครูของโรงเรียนราชวินิจสุวรรณภูมิ จัดโดย โรงเรียนราชวินิจสุวรรณภูมิ

             3) เป็นวิทยากรบรรยาย ในหัวข้อ การประกันคุณภาพภายในและภายนอกสถานศึกษา ให้กับครูในโรงเรียนวัดสัมปทวน สังกัดเทศบาลจังหวัดฉะเชิงเทรา

             4) เป็นวิทยากรบรรยาย ในหัวข้อ ผู้บริหารยุคศตวรรษที่ 21 ให้กับผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 ณ โรงเรียนบางบ่อวิทยาคม

             5) เป็นวิทยากรอบรม จิตวิญญาณครูในศตวรรษที่ 21 ให้กับ ครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ผู้จัดคือ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

             6) เป็นวิทยากรอบรมอาจารย์ของมหาวิทยาลัยเอกชน ในหัวข้อ การพัฒนาคุณภาพอาจารย์สถาบันอุดมศึกษาเอกชน

             7) เป็นวิทยากรอบรมให้กับครูในสถานศึกษาสังกัด สพป. สพม.6 ในหัวข้อ จิตวิญญาณครูบูรณาการสู่การเรียนการสอน ของ สำนักพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ของมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

 

      5.4 การเป็นผู้เชี่ยวชาญตรวจเครื่องมือให้กับบุคคลภายนอก

กรองทิพย์ นาควิเชตร และคณะ. (2555). หลักสูตรพัฒนาภาวะผู้นำสำหรับผู้นำนักศึกษามหาวิทยาลัย

เอกชน. วิจัยทุนสนับสนุน. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล.

 

 

นุชนภางค์ เดชวรัชรนนท์. (2556). การบูรณาการรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา

ตลาดน้ำอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม. การค้นคว้าอิสระ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

ฯลฯ

 

         5.5 การเป็นกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

ภัทรา พึ่งไพฑูรย์. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับ

ประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 1. ปริญญาครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

อัญชลี แก่นจันทร์. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมผู้นำแบบมิตรสัมพันธ์กับการสร้างแรงจูงใจ

ในการปฏิบัติงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2. ปริญญาครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

กิตติพงษ์ ศิริเมือง. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับ

การดำเนินการนิเทศภายในของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2. ปริญญาครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย       ราชภัฏราชนครินทร์.

สรัญญา จันทรตรูผล. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษากับ

การมีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2. ปริญญาครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

          ฯลฯ

 

      5.6 การเป็นกรรมสอบวิทยานิพนธ์ และตรวจเครื่องมือ

เกล้าฟ้า ทองสนธิ. (2556). การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนตามเกณฑ์

มาตรฐาน การศึกษาการประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) รอบที่ 3 โรงเรียน สังกัดเทศบาลในจังหวัดชลบุรีและเมืองพัทยา. ปริญญาครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

ขนิษฐา ณรงค์ศักดิ์. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับ

ความผูกพันต่อองค์การของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1. ปริญญาครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

ปัทมาวดี มาสวัสดิ์. (2556). รูปแบบในการใช้อำนาของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการ

บริหารงานบุคคลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา     เขต 1. ปริญญาครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

 

ดวงนภา เสมทับ. (2556). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ในจังหวัดฉะเชิงเทรา. ปริญญาครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย   ราชภัฏราชนครินทร์.

ธัญพร แก้วแสนสุข. (2556). รูปแบบการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษา ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพ

การสอนของครูสังกัดเทศบาลในจังหวัดฉะเชิงเทรา. ปริญญาครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย   ราชภัฏราชนครินทร์.

จินตนา เผ่าจินดา. (2556). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผล

การบริหารงานบุคคลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี  เขต 3. ปริญญาครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ

ราชนครินทร์.

นัยนา ฝาพิมาย. (2556). คุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหาร

งานวิชาการของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบล จังหวัดฉะเชิงเทรา. ปริญญาครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย   ราชภัฏราชนครินทร์.

ฯลฯ

 

      5.7 การเป็นกรรมคณะกรรมการประเมินผลการวิจัย

  1. คณะกรรมการประเมินผลการวิจัยได้รับทุนสนับสนุนภายในของมหาวิทยาลัยและประเมินผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ให้กับ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ในสาขาด้านสังคมศาสตร์ ที่เกี่ยวกับ นิเทศศาสตร์ การตลาด การท่องเที่ยวและการโรงแรม เป็นต้น
  2. เป็นผู้ประเมินผลการวิจัยลงวารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
  3. เป็นผู้ประเมินผลการวิจัยลงบทความวิชาการ และบทความวิจัย ของสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
  4. เป็นผู้ประเมินผลการวิจัยลงบทความวิชาการ และบทความวิจัย ในเวทีวิชาการ ของสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
  5. เป็นผู้ประเมินเค้าโครงงานวิจัยเพื่อรับทุนวิจัยเชิงพื้นที่ (สกว.) และเป็นผู้ประเมินผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ก่อนตีพิมพ์เผยแพร่ ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

 

 

 

 

References

Annop, J. & Ratana, D. (2015). A Study of the state of practices based on The Standards of Work

Performance and Standards of Conduct of Education Profession Practitioners. STOU Journal. 8(2), 41-57. (in Thai)

Apidporn, S. & et al. (2013). Research and development of teacher production curriculum in the 21st century: a case study of Faculty of Education Nakhon Si Thammarat Rajabhat University. Research report of The Secretariat of The Council of Education. (in Thai)

Best, J.W. & Kahn, J.V. (1993). Research in education. (7th edition). Boston, M.A.: Allyn and Bacon.

Chachengsao Primary Educational Service Area Office 1. (2015). Chachengsao Primary Educational Service Area Office 1. Retrieved March 12, 2015, from http://www.ccs1.go.th/main/index1.php. (in Thai)

Channarong, I., Anucha, K. & Pakorn, P. (2013). A model of development of quality of work life of

teachers in basic education schools. Journal of Education Naresuan University. 15(Special), 113-123. (in Thai)

Dhammananthika, J., Dusadee, Y., Pagorn, S. & Niyada, C. (2012). Experience of spirituality in teacher: A Phenomenological Study. Journal of Behavioral Science. 18(1), January 2012, 55-65. (in Thai)

Duangjai, C., Chaiyut, M. & Pongthep, J. (2016). Spiritual teacher of the Faculty of Education Nakhon Pathom Rajabhat University. Silpakorn Educational Research Journal. 8(1), 107-131. (in Thai)

Kattika, P. & Sompong, P. (2017). The development of teacher spirituality scale and criterion of the students in Faculty of Education. Conference Presentation of National Research Graduate Network North Rajabhat University 17th, 248-258. (in Thai)

Kerdpong, J. (2015). Study identity of good teacher in heart. Journal of Yala Rajabhat University. 10(2), 45-58. (in Thai)

Narin, S. (2011). Sunthesis Study of mental and spiritual development holistic of knowledge from storytelling about success among teachers and students all teachers and students are in Ed. Systems development of youth through wisdom consciousness. Silpakorn Educational Research Journal. 2(2), 21-30. (in Thai)

National Institute for Development of Teachers, Faculty Staff and Educational of Teachers,Faculty Staff and Educational (NIDTEP). (2013). Spirituality in performance of teacher civil servants and educational personnel in relation to effectiveness under Chaiyaphum Primary Educational Service Area Office 1. Research document. (in Thai)

Niwat, N. & Kanporn, A. (2017). Teacher spirituality. Nonthaburi: 21 Century. (in Thai)

Niwat, N. (2008). My thinking and believe. Bangkok : Jamjuri Product. (in Thai) Office of Social Promotion for Learning and Quality Youth. (2013). The barrier of the thai teacher. Retrieved March 6, 2015, from http://www.qlf.or.th/Home/ Contents/571. (in Thai)

Office of The Basic Education Commission. (2015). Education development directions for fiscal year 2015. Office documents. (in Thai)

Pandawongch, S., Benjawan, B. & Rajan, B. (2015). Self-acceptance and big five personality in predicting spiritual quotient of teachers in schools under The Secondary Education Service Area Office 10 in Samut Sakhon Province. The Journal of Faculty of Applied Arts. 8(1), 115-126.

Prapaphat, N. (2014). The reform conference finds the "teachers" problem bigger no spirit of being a teacher. Retrieved April 7, 2016, from http://www.unigang.com/ Article/21934. (in Thai)

Riruengrong, R. (2002). A study of the lecturer’s characteristics perceived as desirable by King Mongkut’s University of Technology Thonburi Students and Lectures. KMUTT Research and Development Journal. 25(2), 149-165. (in Thai)

Sajeewan, D. (2017). Strategies for developing teacher spirituality to enhance professional teacher of students in Faculty of Education, Suan Sunandha Rajabhat University. Ratchaphruek Journal. 15(1), 1-10. (in Thai)

Suchada, K. (2005). Essential characteristics of outstanding teachers: ethics and efficacy. Journal of Educational Research and Measurement. 3(1), 196-212. (in Thai)

Sutep, T. & Anuwat, K. (2012). A study of characteristics of the new generation teachers. Research of Faculty of Education, Phetchabun Rajabhat University. (in Thai)

Thaworn, S. & et al. (2011). The need for self-development and its obstacles for teachers and academic personnel in Rachaburi and Samutsongkram. Journal of Education Khon Kaen University. 34(3-4), 108-116. (in Thai)

The Secretariat of the Cabinet. (2014). Policy statement of The Cabinet General Prayut Chunyacha, Prime Minister, announces to the national legislative assembly. Bangkok: Cabinet and Gazette Publishing. (in Thai)