ความคาดหวังของครูผู้สอนเกี่ยวกับการบริหารการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ในสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

สุจิตตรา เมาลิชาติ
ชาญชัย วงศ์สิรสวัสดิ์
สุวรรณา โชติสุกานต์

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความคาดหวังของครูผู้สอนเกี่ยวกับการบริหารการ จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ในสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ ครูผู้สอนใน โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เขตหลักสี่ จำนวน 124 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตรา ส่วนประมาณค่า สถิติที่ 0.99 ระดับ โดยมีค่าความเชื่อมั่น 5 ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ทดสอบรายคู่ด้วยวิธี LSD (Least Significant Difference)

ผลการวิจัยพบว่า

1. ความคาดหวังของครูผู้สอนเกี่ยวกับการบริหารการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญใน สถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ในภาพรวมและรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมาก

2. ความคาดหวังของครูผู้สอนเกี่ยวกับการบริหารการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญใน สถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ที่มีประสบการณ์การทางานต่างกัน ในภาพรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 05.

 

THE TEACHERS' EXPECTATION ON SCHOOL CHILD CENTERED MANAGEMENT UNDER BANGKOK METROPOLITAN ADMINISTRATION

The purposes of this study were to study and to compare teachers' expectation on school child centered Management under Bangkok Metropolitan Administration. The sample included 164 teachers in Bangkok Metropolitan Administration Laksi. Tools used in the study were a questionnaire run on the scale has five levels of reliability 0.99, The statistical analysis included percentage, mean, standard deviation, One-Way analysis of variance (ANOVA) and LSD (Least Significant Difference).

The research finding were:

1. The teachers' expectation on school child centered management under Bangkok Metropolitan Administration as a whole was at highest most level.

2. The comparison of the teachers' expectation on school child centered management under Bangkok Metropolitan Administration in terms of variable of working experience, revealed statistical difference at the significant level of .05 overall.

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Article)