การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการตามหลักอปริหานิยธรรม

Main Article Content

ทองดี ศรีตระการ

บทคัดย่อ

การปฏิรูปการศึกษาในรอบที่ผ่านมา เกิดกระบวนการพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการในด้านต่างๆ ตามกรอบของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 โดยมุ่งเน้นให้คนไทยได้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ เพิ่มโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง และยึดหลักการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลของการปฏิรูปการศึกษา ทำให้สถานศึกษาต้องบริหารงานวิชาการ พัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรมที่มากขึ้น การนำหลักอปริหานิยธรรมเข้ามาเป็นส่วนการบริหารงานวิชาการ เพื่อให้รู้เท่าทันยุคกระแสทุนนิยมจึงเป็นส่วนที่สำคัญเป็นอย่างมาก

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

John P. Keeves. (1988). Model and Model Building. Educational Research. Methodology any measurement : An internation Handbook. Oxford: Pergamon Press.

Longman. (1981). Contemporary English.

Tosi, H.L., and Carroll., S.J. (1982). Management. (2nd ed.).New York: John Wiley and Sons.

เสนอ อัศวมันตา. (2557). รูปแบบการบริหารจัดการตามหลักอปริหานิยธรรมขององค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี. ใน ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์. มหาวิทยาลัยหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์และคณะ. (2553). การพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทยสู่สากล : เปรียบเทียบประเทศจีน เวียดนาม ญี่ปุ่น เกาหลี เยอรมัน ฟินแลนด์ และประเทศไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). คู่มือครูการปฏิบัติงานข้าราชการครู. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์ และดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์. (2547). การประชุมอย่างสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้ง.

ชุมศักดิ์ อินทร์รักษ์. (2547). การบริหารงานวิชาการ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). ปัตตานี : สำนักวิทยาบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ทิศนา แขมมณี. (2545). ศาสตร์การสอน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธนีนาฏ ณ สุนทร. (2545). การพัฒนารูปแบบและกลยุทธ์การบริหารคุณภาพสำหรับกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยเอกชน. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธีระรัตน์ กิจจารักษ์. ( 2542). เอกสารคำสอนวิชาการบริหารการศึกษา. เพชรบูรณ์: สถาบันราชภัฏเพชรบูรณ์.

บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพมหานคร : สุวีริยสาสน์.

พระครูวิลาศกาญจนธรรม (เล็ก สุธมฺมปญฺโญ). (2554). การปกครองคณะสงฆ์ตามหลักภิกขุอปริหานิยธรรม 7 ของคณะสงฆ์อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี. ใน วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2549). คุณธรรมสำหรับนักบริหาร. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพุทธธรรม.

พระภาวนาวิริยคุณ (เผด็จ ทตฺตชีโว). (2554). ความรู้ประมาณ : รากฐานมั่นคงของพระพุทธศาสนา. ปทุมธานี: กองวิชาการ อาศรมบัณฑิต.

พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี. (2550). คนสำราญงานสำเร็จ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พลับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).

พระราชญาณวิสิฐ (เสริมชัย ชยมงฺคโล). (2548). การบริหารวัด. นครปฐม : เพชรเกษมการพิมพ์.

พัทธ์ธีรา รัตนชัย. (2550). การบริหารงานวิชาการตามแนวปฏิรูปการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน (ช่วงชั้นที่ 3-4) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 1. ใน วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.

มยุเรศ โคตรชมพู. (2550). ความคิดเห็นของผู้ปฏิบัติงานต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย เขต 1. ใน วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี.

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วีระ อำพันสุข. (2526). พุทธธรรมกับการบริหารบุคคล. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: เอราวัณการพิมพ์.

สมาน รังสิโยกฤษฎ์ และสุธี สุทธิสมบูรณ์. (2437). หลักการบริหารเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สวัสดิการสำนักงาน ก.พ.

อุณากรรม สวนมะม่วง. (2553). การศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารงานวิชาการสถานศึกษาสังกัดงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 และเขต 2. ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา.