สิทธิมนุษยธรรม : สิทธิมนุษยชนแนวพุทธ

Main Article Content

พระราเชนทร์ วิสารโท,ดร.

บทคัดย่อ

สิทธิมนุษยชน มีความสำคัญในฐานะเป็นอารยธรรมโลก นับเป็นความฉลาดของมนุษย์ ที่พยายามวางระบบของความคิด เพื่อให้คนทั้งโลกเกิดความตระหนักรู้ และคิดคำนึงถึงคุณค่าของความเป็นมนุษย์ด้วยกัน นับแต่ขั้นพื้นฐานของความเป็นมนุษย์ ชาติกำเนิด รวมทั้งระบบสิทธิต่างๆ ที่มีพื้นฐานมาจากความชอบธรรม ความเป็นธรรม ความยุติธรรมในสังคม     ซึ่งเป็นความชอบธรรมที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานแห่งสิทธิโดยกำเนิด สิทธิตั้งแต่เกิด ให้ความสำคัญกับคำว่า “ชีวิต” ว่าโดยพื้นฐานแล้ว มนุษย์และสัตว์โลกทั้งหลาย ล้วนต้องการปัจจัยในการดำรงชีวิตด้วยกันทั้งนั้น นับแต่ปัจจัยขั้นพื้นฐานที่ว่าด้วยอาหาร ยารักษาโรค ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่มห่ม การดำรงเผ่าพันธุ์ การมีชีวิตรอดในโลก

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์. (2520). จริยศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ธีระพล อรุณะกสิกร. (2543). พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน.

บรรเจิด สิงคะเนติ. (2527). หลักพื้นฐานของสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามรัฐธรรมนูญ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

บุญธรรม พูนทรัพย์. (2533). “ศีลธรรมกับสิทธิมนุษยชนในพุทธปรัชญาเถรวาท”,ใน วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2536). พุทธศาสนากับการพัฒนามนุษย์. กรุงเทพมหานคร : บริษัท สหธรรมิก จำกัด.

พระธรรมปิฏก (ป.อ. ปยุตโต). (2546). สิทธิมนุษยชน : สร้างสันติสุขหรือสลายสังคม. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพมหานคร : สหธรรมิก.

________. (2546). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

_________. (2541). “เวฬุวันมหาวิหาร เมืองราชคฤห์” ใน พุทธสถานอินเดีย. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยจัดพิมพ์เป็นอนุสรณ์ชนมายุ 80 ปี พระสุเมธาธิบดี (ทตฺตสุทฺธิเถระ) 16 สิงหาคม 2541.

________. (2541). พุทธธรรมฉบับปรับปรุงและขยายความ. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พุทธทาส ภิกขุ. (2537). เป้าหมายของการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์นิพพาน.

มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2531). สทฺธมฺมปกาสินี ทุติโย ภาโค. กรุงเทพมหานคร : มหามกุฏราชวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2539). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์อักษรเจริญทัศน์.

อาร์ชี เจ บาห์ม, ศ. (ม.ป.ป.) หลักคำสอนของขงจื๊อ, ครองแผน ไชยธนะสาร ผู้แปล. กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์เดลฟี, AD. MCMXC.