หลักอุบาสกธรรม 7 ในศตวรรษที่ 21

Main Article Content

พระมหาเผด็จ ผาสุกาโม
อภิวัฒชัย พุทธจร
บุญฤทธิ์ เพ็ชรวิศิษฐ์
พระณัฐพงษ์ สิริสุวณฺโณ (จันทร์โร)

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หลักอุบาสกธรรม 7 ต่อการครองตนเป็นอุบาสกอุบาสิกาในศตวรรษที่ 21 เพราะเหตุว่าสภาพสังคมในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงเร็วมาก บทบาทของคฤหัสถ์ญาติโยมต่อพระพุทธศาสนาจึงได้รับผลกระทบไปด้วย ฉะนั้น การหวนระลึกถึงหลักอุบาสกธรรมทั้ง 7 ประการ จะเหมาะสมอย่างยิ่งในศตวรรษที่ 21 นี้ เนื่องจากเป็นหลักธรรมที่กระตุ้นเตือนให้อุบาสกอุบาสิกาทั้งหลายได้ตระหนักถึงหน้าที่ที่พึงกระทำต่อการทะนุบำรุงพระพุทธศาสนา เพราะหลักปฏิบัติทั้ง 7 เป็นหน้าที่ความรับผิดชอบที่สำคัญของบรรดาพุทธบริษัททุกภาคส่วนที่ต้องร่วมมือกัน เปรียบดุจรากฐานที่รองรับและผลักดันให้หลักพุทธธรรมแผ่ขยายกว้างไกลจนถึงที่สุดแห่งธรรมในอนาคตกาล

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

พระธรรมปิฏก (ป.อ. ปยุยฺตโต). (2556). ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2558). ธรรมนูญชีวิต ฉบับเดิมและฉบับปรับปรุง-เพิ่มเติม (ฉบับภาษาไทย). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

พระไพศาล วิสาโล ประเวศ วะสี ส.ศิวรัรักษ์ และนิธิ เอียวศรีวงศ์. (2546). พุทธศาสนาไทยในอนาคต แนวโน้มและทางออกจากวิกฤติ. กรุงเทพมหานคร: แปลนพริ้นท์ติ้ง.

พระอภิวัฒน์ นาถวโร. (2544). ปฏิบัติธรรมให้ถูกทางพระธรรมปิฏก (ป.อ. ปยุยฺตโต). กรุงเทพมหานคร: สหธรรมมิก.

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระวชิรญาณวโรรส. (2557). ปฐมโพธิกาล ใน พุทธประวัติเล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระวชิรญาณวโรรส. (2558). หลักสูตรธรรมศึกษาชั้นตรี ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2557. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

อุทิส ศิริวรรณ. (2544). เจาะลึกนักธรรมชั้นตรี. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง.