แนวทางการพัฒนาสื่อการจัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาของโรงเรียนมัธยมศึกษา ในอำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพสื่อการจัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาของโรงเรียนมัธยมศึกษา ในอำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยใช้การวิจัยแบบผสมผสานระหว่างเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามโดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นครูโรงเรียนมัธยมศึกษา ในอำเภอวังน้อยจำนวน 165 คน วิเคราะห์โดยหาค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า
สภาพสื่อการจัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนา ของโรงเรียนมัธยมศึกษา ในอำเภอวังน้อยจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ภาพรวมทั้ง 4 ด้าน ครูมีความคิดเห็น อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านจำแนกตามคุณสมบัติ รองลงมา คือ ด้านจำแนกตามประสบการณ์ ด้านการจำแนกตามรูปแบบของสื่อ และ ด้านการจำแนกตามลักษณะการใช้ของสื่อ ตามลำดับ
Article Details
บท
บทความวิจัย
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ปฏิรูปการศึกษา 8 คุณธรรมพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร: คุรุสภาลาดพร้าว.
กระทรวงศึกษาธิการ กรมวิชาการ. (2544). คู่มือการจัดกระบวนการเรียนรู้หน้าที่พลเมืองศีลธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย. กรุงเทพมหานคร: คุรุสภาลาดพร้าว.
พระครูปัญญาวัฒนกิจ ปญฺญาวฑฺฒโน (พึ่งสูงเนิน). (2549). สภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนวิชาพระพุทธศาสนา ช่วงชั้นที่ 3 ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต 4. วิทยานิพนธ์หลักสูตรครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา.
พีระพงษ์ สายเชื้อ . (2559). โครงการโรงเรียนคุณธรรม มุ่งพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมให้เด็กพร้อมสร้างสังคมน่า. กรุงเทพมหานคร: โอเดี้ยนสโตร์ .
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ สุภมาศ อังศุโชต และอัจฉรา ชำนิประศาสน์. (2555). สถิติสำหรับการวิจัยและเทคนิคการใช้ SPSS ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: เจริญดีมั่นคงการพิมพ์.
สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย. (2538). การส่งเสริมศาสนาและพัฒนาจิตใจและการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เลิฟแอนด์ลิฟเพลส .
สำนักงานรับรองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน). (2549). มาตรฐานตัวชี้วัด และเกณฑ์การพิจารณา. กรุงเทพมหานคร: สมศ.ม.
กระทรวงศึกษาธิการ กรมวิชาการ. (2544). คู่มือการจัดกระบวนการเรียนรู้หน้าที่พลเมืองศีลธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย. กรุงเทพมหานคร: คุรุสภาลาดพร้าว.
พระครูปัญญาวัฒนกิจ ปญฺญาวฑฺฒโน (พึ่งสูงเนิน). (2549). สภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนวิชาพระพุทธศาสนา ช่วงชั้นที่ 3 ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต 4. วิทยานิพนธ์หลักสูตรครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา.
พีระพงษ์ สายเชื้อ . (2559). โครงการโรงเรียนคุณธรรม มุ่งพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมให้เด็กพร้อมสร้างสังคมน่า. กรุงเทพมหานคร: โอเดี้ยนสโตร์ .
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ สุภมาศ อังศุโชต และอัจฉรา ชำนิประศาสน์. (2555). สถิติสำหรับการวิจัยและเทคนิคการใช้ SPSS ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: เจริญดีมั่นคงการพิมพ์.
สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย. (2538). การส่งเสริมศาสนาและพัฒนาจิตใจและการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เลิฟแอนด์ลิฟเพลส .
สำนักงานรับรองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน). (2549). มาตรฐานตัวชี้วัด และเกณฑ์การพิจารณา. กรุงเทพมหานคร: สมศ.ม.