แนวคิดเกี่ยวกับสตรีในนวนิยายของกฤษณา อโศกสิน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับสตรีในนวนิยายของกฤษณา อโศกสิน ผลการวิเคราะห์แนวคิดเกี่ยวกับสตรีใน นวนิยายของกฤษณา อโศกสิน พบว่ามีลักษณะแนวคิดทั้งหมด 4 ด้าน คือ 1) ด้านลักษณะทางกาย ได้แก่ รูปร่างหน้าตา กิริยาท่าทาง และการพูด 2) ด้านลักษณะนิสัย ได้แก่ นิสัยส่วนตัว นิสัยต่อสังคม 3) ด้านความสัมพันธ์กับครอบครัวและสังคม ได้แก่ บุคคลในครอบครัว บุคคลในสังคม 4) ด้านคตินิยมในการดำเนินชีวิต ได้แก่ ครอบครัว การศึกษา และอาชีพ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารพิกุล ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารพิกุล ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารพิกุล หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารพิกุล ก่อนเท่านั้น
References
กฤษณา อโศกสิน (สุกัญญา ชลศึกษ์). (2515). ตะวันตกดิน เล่ม 1-2. กรุงเทพมหานคร: รุ่งเรืองรัตน์.
______________. (2516). เรือมนุษย์. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม.
______________. (2518). หนามกุหลาบ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ประพันธ์สาส์น.
______________. (2525). เดือนครึ่งดวง. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สามัคคีสาร.
______________. (2529). เนื้อใน. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า.
______________. (2531). กิ่งมัลลิกา. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า.
______________. (2531). เหลี่ยมกุหลาบ เล่ม 1-2. กรุงเทพฯ: โชคชัยเทเวศร์.
______________. (2532). ภมร เล่ม 1-2. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เฉลิมชัยการพิมพ์.
______________. (2534). กระเช้าสีดา. กรุงเทพฯ: รวมสาส์น.
______________. (2534). บุษบกใบไม้. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ์.
______________. (2535). เนื้อนาง. กรุงเทพฯ: เจริญรัตน์การพิมพ์.
______________. (2538). ทรายย้อมสี. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า.
______________. (2539). น้ำเซาะทราย. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: ไทยเทอดธรรม.
______________. (2539). เพลิงบุญ. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: เพื่อนดี.
______________. (2544). หน้าต่างบานแรก. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ดับเบิ้ลนายน์.
______________. (2547). ลานลูกไม้. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: แปลนพริ้นติ้ง.
______________. (2549). ดอกไม้ไร้นาม. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: เพื่อนดี.
______________. (2551). เวิ้งระกำ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: เพื่อนดี.
______________. (2554). ฝ้ายแกมแพร. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: เพื่อนดี.
______________. (2557). เลื่อมสลับลาย. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: เพื่อนดี.
ธัญญา สังขพันธานนท์. (2539). วรรณกรรมวิจารณ์. ปทุมธานี: คลองหลวง.
บุญเหลือ เทพยสุวรรณ, มล. (2539). แว่นวรรณกรรม. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์บุคเซ็นเตอร์.
ประทีป เหมือนนิล. (2530). วรรณกรรมไทยปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: สารสยาม.
ไพลิน รุ้งรัตน์ . (2531). “ญ.หญิงอดทน ภาพสะท้อนอันดับหนึ่งของผู้หญิงในนวนิยาย.” สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ 34(39): 75-76.
รื่นฤทัย สัจจพันธุ์. (2532). วรรณกรรมปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ลักษณ์วัต เจริญพงศ์. (2544). ปรัชญาภาวะสตรี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ศรีวิน ธรรมรังรอง. (2537). บุคลิกภาพสตรีในนวนิยายที่ได้รับรางวัลของ
กฤษณา อโศกสิน. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สมเกียรติ รักษ์มณี. (2551). ภาษาวรรณศิลป์. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สายน้ำใจ.