การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน

Main Article Content

เสรี ชัดแช้ม

Abstract

การวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยัน (confirmatory factor analysis: CFA) เปนสวนหนึ่งของโมเดลสมการโครงสราง (structural equation modeling: SEM) แนวคิดในการนํา CFA มาใชวิเคราะหคุณภาพของเครื่องมือวัดทางจิตวิทยา ไดแก การตรวจสอบความตรงเชิงโครงสราง การประมาณคาความเที่ยงและการตรวจสอบความไมแปรเปลี่ยนของโครงสรางองคประกอบเมื่อนําไปใชตางกลุม โปรแกรมคอมพิวเตอรที่ใช วิเคราะห CFA เชน LISREL EQS และ AMOS เปนตน ขอมูลที่ใชในการวิเคราะหควรวัดเปนคาตอเนื่องและมีจํานวนมากพอ มีขอตกลงเบื้องตนคือขอมูลทุกตัวควรมีการแจกแจงแบบปกติ เทอมความคลาดเคลื่อนมีความสัมพันธกันได กลุมตัวอยางควรมีการแจกแจงแบบเชิงเสนกํากับ และตัวแปรสังเกตไดตองไมมี ความสัมพันธกันสูงขั้นตอนการวิเคราะห CFA ประกอบดวย การกําหนดขอมูลจําเพาะของโมเดล การระบุความเปนไปไดคาเดียวของโมเดล การประมาณคาพารามิเตอร และการประเมินความสอดคลองของโมเดล ดัชนีที่ใชประเมินความสอดคลองของโมเดล ไดแกคาสถิติ chi-square, relative chi-square, nested chi-square, GFI, AGFI, CFI, Standardized RMR, และ RMSEA วิธีการ CFA แมมีประโยชนอยางยิ่งสําหรับนักพัฒนาแบบทดสอบในการตรวจสอบเพื่อยืนยันองคประกอบตามทฤษฎีของเครื่องมือวัดทางจิตวิทยา แต CFA ก็มี ความเสี่ยงที่จะเกิดความคลาดเคลื่อนประเภทที่ II

Article Details

Section
บทความปริทัศน์ (Review Article)