การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุการปรับตัวของผูติดเชื้อเอชไอวี

Main Article Content

ปริญญา สิริอัตตะกุล

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาและตรวจสอบโมเดลความสัมพันธเชิงสาเหตุการปรับตัวของผู ติดเชื้อเอชไอวีตามทฤษฎีการปรับตัวของรอย (Roy, 1984) กลุมตัวอยางที่ศึกษา ไดแก ผูติดเชื้อเอชไอวีที่เปน สมาชิกชมรมเพื่อนวันพุธ ศูนยวิจัยโรคเอดส สภากาชาดไทย ปพ.ศ. 2545 จํานวน 400 คน ตัวแปรที่ศึกษา ประกอบดวย ตัวแปรแฝง 6 ตัวแปร ไดแกการเปดเผยสภาพการติดเชื้อ ความเขมแข็งอดทน การสนับสนุนทาง สังคม ความเชื่ออํานาจภายในตนดานสุขภาพ การรับรูที่เปนตราบาป และการปรับตัว เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แบบวัดความเขมแข็งอดทน แบบวัดการสนับสนุนทางสังคม แบบวัดความเชื่ออํานาจภายในตนดาน สุขภาพ แบบวัดการรับรูที่เปนตราบาป และแบบวัดการปรับตัว การวิเคราะหขอมูลใชโปรแกรม SPSS หา คาสถิติพื้นฐาน และใชโปรแกรม LISREL 8.50 วิเคราะหโมเดลความสัมพันธเชิงสาเหตุ ผลการวิจัยพบวา โมเดลความสัมพันธเชิงสาเหตุการปรับตัวของผูติดเชื้อเอชไอวีที่ปรับแลวมีความ สอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษโดยพิจารณาจากคาไค-สแควรเทากับ 52.98 ที่องศาอิสระเทากับ 120 คาความ นาจะเปน เทากับ 1.00 ดัชนี GFI เทากับ 0.99 ดัชนี AGFI เทากับ 0.97 ดัชนี CFI เทากับ 1.00 คา Standardized RMR เทากับ 0.02 และคา RMSEA เทากับ 0.00 ตัวแปรทั้งหมดในโมเดลสามารถอธิบาย ความแปรปรวนในตัวแปรการปรับตัวไดรอยละ 72 ตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรงตอการปรับตัวอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติไดแกความเขมแข็งอดทน ความเชื่ออํานาจภายในตนดานสุขภาพ ระยะเวลาการติดเชื้อและอายุ

DEVELOPMENT OF A CAUSAL RELATIONSHIP MODEL FOR INFECTED HIV ADAPTATION

The purpose of this research was to develop and validate a causal relationship model of infected HIV adaptation, based on adaptation theory of Roy (1984). Samples consisted of 400 infected HIVs who were members of the Wednesday Friend Club, the Thai Red Cross, and the AIDS Research Center in the year 2002. The model consisted of six latent variables: disclosure of HIV infection, hardiness, social support, internal health locus of control, stigma perception, and adaptation. The research instruments included the Hardiness Scale, Social Support Scale, Internal Health Locus of Control Scale, Stigma Perception Scale, and Adaptation Scale. Descriptive statistics were derived by using SPSS, and the quality of the causal relationship model was assessed by applying LISREL 8.50. Results indicated that the adjusted model was consistent with empirical data. The validation of the model was indicated by chi-square test of goodness of fit equal to 52.98 with 120 degrees of freedom, p = 1.00. LISREL’s goodness of fit index, GFI, was 0.99; the adjusted goodness of fit index, AGFI, was 0.97; the comparative fit index, CFI, was 1.00; the standardized root mean square residual (RMR), was 0.02, with RMSEA, the root mean square error of approximation, found to be 0.00. The variables in the model accounted for 72 percent of the variance of adaptation. The variables that had statistically significant direct effects on adaptation were hardiness, internal health locus of control, duration of HIV infection, and age.

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Articles)