การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ เชิงสาเหตุการกํากับตนเองในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3

Main Article Content

ปณิตา นิรมล

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนา และตรวจสอบโมเดลความสัมพันธเชิงสาเหตุการกํากับตนเอง ในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ตามแนวคิดการกํากับตนเอง ของ ซิมเมอรแมน (Zimmerman, 1989) กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3ในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา ภาค ตะวันออก จํานวน 440 คน ตัวแปรที่ศึกษาประกอบดวยตัวแปรแฝง 6 ตัว ไดแกการกํากับ ตนเองในการเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเดิม การตั้งเปาหมายทางการเรียน แมแบบทางการเรียน ความวิตกกังวล และการรับรู ความสามารถของตนเองทางการเรียน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยประกอบดวย แบบสอบถามสถานภาพทั่วไป แบบวัดการกํากับตนเองในการเรียน แบบวัดการตั้งเปาหมายทางการเรียน แบบสอบถาม แมแบบทางการเรียน แบบวัดความวิตกกังวลและแบบวัดการรับรูความสามารถของตนเองทางการเรียนการวิเคราะหขอมูลใช โปรแกรม SPSS หาคาสถิติพื้นฐานและใชโปรแกรม LISREL 8.50 วิเคราะหโมเดลความสัมพันธเชิงสาเหตุ ผลการวิจัยพบวา โมเดลความสัมพันธเชิงสาเหตุการกํากับตนเองในการเรียนมีความสอดคลองกับ ขอมูลเชิงประจักษอยูในเกณฑดีโดยพิจารณาจาก คาไค-สแควรเทากับ 7.08 ที่องศาอิสระ เทากับ 19 มีคา ความนาจะเปน เทากับ 0.99 ดัชนี GFI เทากับ 0.99 ดัชนี AGFI เทากับ 0.98 ดัชนี CFI เทากับ 1.00 คา Standardized RMR เทากับ 0.01 และคา RMSEA เทากับ 0.00 ตัวแปรทั้งหมดในโมเดลสามารถอธิบายความ แปรปรวนของการกํากับตนเองในการเรียนไดรอยละ 60.70 ตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรงตอการกํากับตนเองใน การเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติไดแก การตั้งเปาหมายทางการเรียน ความวิตกกังวล การรับรูความสามารถ ของตนเองทางการเรียน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเดิม

DEVELOPMENT OF A CAUSAL RELATIONSHIP MODEL OF SELF- REGULATED LEARNING AMONG MATTHAYOMSUKSA THREE STUDENTS

The purpose of this research was to develop and validate a causal relationship model of self-regulated learning among Matthayomsuksa Three students, based on the theory of Zimmerman (1989). The sample involved 440 Matthayomsuksa Three students in schools under the jurisdiction of the Department of General Education in the Eastern Region. The model consists of six latent variables: self-regulated learning, prior achievement, academic goal orientation, academic modeling, anxiety, and academic selfefficacy. Several research instruments were used: the General Status Questionnaire, the Self-Regulated Learning Scale, the Academic Goal Orientation Scale, the Academic Modeling Scale, the Test Anxiety Scale, and the Academic Self-Efficacy Scale. SPSS was used to derive descriptive statistics; LISREL 8.50 was used to test the causal relationship model. The model was found to be consistent with empirical data. Goodness of fit indicators included a chi-square value of 7.08 with 19 degrees of freedom, p = 0.99; GFI = 0.99; AGFI = 0.98; CFI = 1.00; standardized RMR = 0.01; and RMSEA = 0.00. The variables in the model were found to account for 60.70 percent of the variance of the Self-Regulated Learning scores. The variables having statistically significant direct effects on Self-Regulated Learning were academic goal orientation, anxiety, academic self-efficacy, and prior achievement.

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Articles)