การพัฒนาตัวบงชี้รวมการเสริมสรางพลังอํานาจครู ในโรงเรียนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Main Article Content

ปยะธิดา วรญาโณปกรณ

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาตัวบงชี้รวมการเสริมสรางพลังอํานาจครู ในโรงเรียนสังกัด สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และตรวจสอบความตรงเชิงโครงสรางของโมเดลตัวบงชี้รวม โมเดล สมมติฐานการวิจัยสังเคราะหจากทฤษฎีโครงสรางอํานาจของแคนเตอร (Kanter, 1983) รูปแบบการเสริมสราง พลังอํานาจในองคการ (Scott & Jaffe, 1991) และแนวคิดการเสริมสรางพลงอั ํานาจครู (Short & Rinehart, 1992) กลมุ ตัวอยางประกอบดวย นักวิชาการจํานวน 80 คน และผูบริหารสถานศึกษาในโรงเรียนสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จํานวน 700 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคือแบบสอบถามความเหมาะสม ของตัวบงชี้การเสริมสรางพลังอํานาจครู การวิเคราะหคาสถิติเชิงบรรยายโดยใชโปรแกรม SPSS และใช โปรแกรมลิสเรล 8.50 ตรวจสอบความตรงของโมเดล ผลการวิจัยพบวา การเสริมสรางพลังอํานาจครู ประกอบดวย 2 มิติ (กระบวนการและผลลัพธ) 13 องคประกอบ 102 ตัวบงชี้ จัดอันดับความสําคัญตามน้ําหนักองคประกอบไดดังนี้ ความพึงพอใจในงาน การ สรางภาวะผูนํา การสรางทีมงาน ความผูกพันตอวิชาชีพครู ความกาวหนาในวิชาชีพ ความเปนอิสระ การให โอกาส การมีสวนรวมตัดสินใจ การสรางแรงจูงใจ สถานภาพครู ความเชื่อมั่นในตนเอง การใหการสนับสนุน และ ความรูสึกมีคุณคาในตน ผลการตรวจสอบความตรงเชิงโครงสรางของตัวบงชี้การเสริมสรางพลังอํานาจครู มีคา chi-square = 27.51, df = 61, p = 1.00, GFI = 1.00, AGFI = 0.99, CFI = 1.00, Standardized RMR = 0.01, RMSEA = 0.00 แสดงวา โมเดลตัวบงชี้รวมการเสริมสรางพลังอํานาจครูมีความตรงเชิงโครงสราง

 

DEVELOPMENT OF A COMPOSITE INDICATOR OF TEACHER EMPOWERMENT IN SCHOOLS UNDER THE JURISDICTION OF THE COMMISSION FOR BASIC EDUCATION

The objective of this study was to develop a composite indicator of teacher empowerment in those schools under the jurisdiction of the Commission for Basic Education, and to determine the construct validity of the resultant indicator. The hypothesized model was synthesized from Power Structure Theory (Kanter, 1983), from the pattern of empowerment in organization (Scott & Jaffe, 1991), and from the six dimensions of teacher empowerment (Short & Rinehart, 1992). The sample consisted of 80 experts in universities, and 700 principals in schools under the jurisdiction of the Commission for Basic Education. The research instrument was the Teacher Empowerment Questionnaire. Descriptive statistics were derived using SPSS, with LISREL 8.50 employed to validate the model. It was found that the teacher empowerment was comprised of two dimensions (process and outcome), 13 factors, and 102 indicators. The factors were labeled job satisfaction, leadership, teamwork, teacher professional commitment, professional growth, autonomy, opportunity, decided participation, motivation, teacher status, self-efficacy, support, and self-esteem. LISREL supported the hypothesized model, returning a chi – square figure of 27.51 with 61 degrees of freedom, p=1.00. Other resulting goodness of fit indices were: GFI = 1.00; AGFI = 0.99; CFI = 1.00; the standardized RMR = 0.01, and RMSEA = 0.00.

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Articles)