การวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม

Main Article Content

สมโภชน์ อเนกสุข

Abstract

การวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม เปนรูปแบบของการวิจัยที่นักวิจัยมีความเกี่ยวของในฐานะเปน ผูมีสวนรวมในกิจกรรมสวนหนึ่งขององคการและการเปนนักวิจัย เปนการนําแนวคิดและวิธีการวิจัยเชิง  คุณภาพมาใชในการศึกษา โดยผูที่มีสวนรวมในกระบวนการวิจัยชวยกันแสวงหารูปแบบของการพัฒนา หรือหาวิธีการแกปญหา  มีการพัฒนาความสํานึกในการวิเคราะหวิจารณของผูที่เกี่ยวของเพื่อปรับปรุง สภาวะความเปนอยูและวิถีชีวิต ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงสภาพโครงสรางและความสัมพันธพื้นฐานใน สังคมของตนเอง ลักษณะของการวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม ประกอบดวย การวางแผน การปฏิบัติ   การสังเกต การสะทอนผลการปฏิบัติ และการปรับปรุงแผนเพื่อนําไปปฏิบัติในวงจรการปฏิบัติชวงตอไป จนกวาจะไดรูปแบบของการปฏิบัติงานที่พึงพอใจ ซึ่งกระบวนการวิจัยตองมีความยืดหยุนสูง มีความเปน พลวัติ ไมจําเปนตองเปนการดําเนินงานเชิงเสนตรง สามารถทําการวิจัยซ้ํา ๆ กันไดอีก โดยพิจารณาจากผล สะทอนกลับ ซึ่งจะเปนขอมูลสําคัญสําหรับการพัฒนาแผนงานและกระบวนการวิจัยในลําดับตอ ๆ ไป 

Participatory Action Research 

   Participatory action research was employed in this study in an effort to improve the quality of the participants’ organizations, community, and family lives.  The researcher focused on a social and community orientation, with an emphasis on research which would contribute to societal emancipation or change.  The research process consisted of planning, actions, observations, reflection, and revision.  A deliberate attempt was made to explore the relationship between an individual and others, and to understand their practices, and their knowledge about working in teams, using flexible and dynamic processes.  Results reflected the information critical to planning and process continuation. 

Article Details

Section
บทความปริทัศน์ (Review Article)