การวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยันความเชื่อเรื่องความรู ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยันความเชื่อเรื่องความรูของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ตามแนวคิดความเชื่อเรื่องความรูของชอหมเมอร (Schommer, 1990) และตรวจสอบความ สอดคลองของโมเดลองคประกอบความเชื่อเรื่องความรูกับขอมูลเชิงประจักษ กลุมตัวอยาง คือ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2546 ในโรงเรียนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคตะวันออก จํานวน 900 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบวัดความเชื่อเรื่องความรู การวิเคราะหขอมูลแบงออกเปน การวิเคราะหองคประกอบเชิงสํารวจ สกัดองคประกอบดวยวิธีวิเคราะหตัวประกอบหลัก และหมุนแกน องคประกอบดวยวิธีแวรริแมกซ โดยใชโปรแกรม SPSS และวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยันอันดับสอง เพื่อ ตรวจสอบความตรงเชิงโครงสรางของโมเดลองคประกอบความเชื่อเรื่องความรู โดยใชโปรแกรม LISREL 8.50 ผลการวิจัยชี้ใหเห็นวา องคประกอบความเชื่อเรื่องความรูของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ประกอบ ดวย 4 ดาน เรียงลําดับตามคาน้ําหนักองคประกอบ คือ ความสามารถในการเรียนรู โครงสรางของความรู ความแนนอนของความรู และความเร็วในการเรียนรู การตรวจสอบความสอดคลองของโมเดลองคประกอบ กับขอมูลเชิงประจักษ ปรากฏผลวา χ 2 = 5.40, df = 38, p = 1.00, GFI = 1.00, AGFI = .99, CFI = 1.00, SRMR = 0.01, RMSEA = .00 แสดงวา โมเดลความเชื่อเรื่องความรูสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษดี
A CONFIRMATORY FACTOR ANALYSIS OF EPISTEMOLOGICAL BELIEFS OF GRADE NINE STUDENTS
A model of the epistemological beliefs of grade nine students was developed and validated, based on the concepts of Schommer (1990). The sample consisted of 900 grade nine students in schools under the jurisdiction of the Commission for Basic Education in the Eastern Region, Thailand, academic year 2003. The research instrument was the epistemological beliefs scale. Data were analyzed by means of exploratory factor analysis with principal component extraction and varimax rotation using SPSS. The model was validated by using second order confirmatory factor analysis through LISREL version 8.50. The research results indicated that the epistemological beliefs of grade nine students consisted of four factors. In order of factor loading, they were: ability to learn, structure of knowledge, certainty of knowledge, and speed of learning. The validation of the model provided 2 χ = 5.40, df = 38, p = 1.00, GFI = 1.00, AGFI = .99, CFI = 1.00, SRMR = 0.01, RMSEA = 0.00.