ิทธิพลของการทําหน้าที่ตางกันของข้อสอบที่สงผลตอคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ ชั้นประถมศึกษาป ที่ 6

Main Article Content

ศุภวัฒน์ มะลิเผือก

Abstract

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาอิทธิพลของการทําหนาที่ตางกันของขอสอบที่สงผลตอคุณภาพ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ โดยเปรียบเทียบคาความเที่ยงของแบบทดสอบ ความตรงเชิง โครงสราง ความคงที่ของโครงสรางองคประกอบและคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธอันดับของผูสอบ ระหวาง แบบทดสอบฉบับกอนกับฉบับหลังตัดขอสอบทําหนาที่ตางกันออกจากแบบทดสอบ กลุมตัวอยางเปนผลการ ตอบแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ วิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช ปการศึกษา 2546 จํานวน 2,000 คน วิเคราะหคาสถิติพื้นฐานโดย ใชโปรแกรม SPSS วิเคราะหคาสถิติของขอสอบและคาความเที่ยงของแบบทดสอบโดยใชโปรแกรม Lertap 5 ตรวจสอบความตรงเชิงโครงสรางดวยการวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยันอันดับสองโดยใชโปรแกรม LISREL 8.50 และตรวจสอบการทําหนาที่ตางกันของขอสอบโดยใชโปรแกรม SIBTEST และ SPSS ผลการวิจัยปรากฏวา 1. มีขอสอบทําหนาที่ตางกันในแบบทดสอบวดผลส ั ัมฤทธิ์ทางการเรียนระดบชาต ั ิ ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 วิชาภาษาไทยจานวน ํ 12 ขอ (รอยละ  30) เมื่อจําแนกกลมผุ ูสอบตามตวแปรเพศ ั 2. แบบทดสอบฉบบกั อนกับฉบบหล ั งตั ัดขอสอบทาหน ํ าที่ตางกนั มีคาความเท  ี่ยงแตกตางก  ัน 3. แบบทดสอบฉบบกั อนกับฉบบหล ั ังตัดขอสอบทาหน ํ าที่ตางกนั มีความตรงเชิงโครงสรางไม แตกตางกัน 4. แบบทดสอบฉบับกอนกบฉบ ั ับหลังตัดขอสอบทาหน ํ าที่ตางกัน มีโครงสรางองคประกอบคงที่ 5. คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธอันดบของผ ั ูสอบระหวางแบบทดสอบฉบบกั อนกับฉบบหล ั ังตัด ขอสอบทําหนาทตี่ างกัน มีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถติิ

 

THE EFFECT OF DIFFERENTIAL ITEM FUNCTIONING ON THE QUALITY OF A NATIONAL ACHIEVEMENT TEST FOR GRADE 6 STUDENTS

The purpose of this research was to determine the effect of differential item functioning (DIF) on the quality of a national achievement test by comparing the test reliability index, construct validity measure, invariance of factor construct, and rank correlation coefficient before and after the DIF items were eliminated. The sample involved 2,000 Grade 6 students who sat a national achievement test on the Thai Language in the Nakhon Si Thammarat Education Service Area Office, academic year 2003. Descriptive statistics were derived by using SPSS, item analysis and test reliability were determined by using Lertap 5, while a second-order confirmatory factor analysis for construct validity was conducted by applying LISREL 8.50. SIBTEST and SPSS were used to detect differential item functioning. Results : 1. Twelve items (30% of all test items) exhibited DIF when students were classified by gender. 2. The reliability index of the test before and after DIF items were eliminated was significantly different. 3. The construct validity of the test before and after DIF items were eliminated was similar. 4. The factor construct of the test before and after DIF items were eliminated was invariant. 5. The rank correlation coefficient of examinees between the test before and after DIF items were eliminated was significantly different.

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Articles)