การพัฒนาโมเดลความสัมพันธเชิงสาเหตุของความเหนื่อยหนายในการปฏิบัติหนาที่ ของขาราชการตํารวจชั้นประทวน
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาและตรวจสอบความตรงเชิงโครงสรางของโมเดลความสัมพันธ เชิงสาเหตุของความเหนื่อยหนายในการปฏิบัติหนาที่ของขาราชการตํารวจชั้นประทวน โดยใชทฤษฎีความ เหนื่อยหนายของมาสแลค (Maslach, 1986) เปนกรอบแนวคิดในการพัฒนาโมเดลดังกลาว ตัวแปรในโมเดล ประกอบดวย ตัวแปรแฝง 5 ตัวแปร และตัวแปรสังเกตได 29 ตัวแปร กลุมตัวอยาง เปนขาราชการตํารวจชั้น ประทวนสังกัดตํารวจภูธรภาค 2 ป พ.ศ. 2546 จํานวน 500 คน ไดมาโดยวิธีการสุมแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือ เก็บรวบรวมขอมูลประกอบดวย แบบสอบถามและแบบวัด จํานวน 7 ชุด การวิเคราะหขอมูลใชโปรแกรม SPSS ในการหาคาสถิติพื้นฐานและคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ และใชโปรแกรม LISREL 8.50 ในการ วิเคราะหความตรงเชิงโครงสรางของโมเดลความสัมพันธเชิงสาเหตุ ผลการวิจัยแสดงวา โมเดลความสัมพันธเชิงสาเหตุของความเหนื่อยหนายในการปฏิบัติหนาที่ ของขาราชการตํารวจชั้นประทวนที่ปรับเปนโมเดลทางเลือก มีความสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษอยูใน เกณฑดี โดยพิจารณาจาก คาไค-สแควร เทากับ 13.43 ที่องศาอิสระ เทากับ 22 คา p เทากับ 0.92 ดัชนี GFI เทากับ 1.00 ดัชนี AGFI เทากับ 0.98 ดัชนี CFI เทากับ 1.00 คา SRMR เทากับ 0.02 และคา RMSEA เทากับ 0.00 ตัวแปรทั้งหมดในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของความเหนื่อยหนายในการปฏิบัติหนาที่ ไดรอยละ 76 ตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรงตอความเหนื่อยหนายในการปฏิบัติหนาที่ของขาราชการ ตํารวจชั้นประทวนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ไดแก ความเครียดในการปฏิบัติหนาที่ สายงาน และ ประสบการณในการปฏิบัติหนาที่ สวนตัวแปรที่มีอิทธิพลทางออมตอความเหนื่อยหนายในการปฏิบัติหนาที่ ของขาราชการตํารวจชั้นประทวนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ไดแก ความขัดแยงในบทบาทของตน สัมพันธภาพ ในหนวยงาน ภาระงาน และอายุ
DEVELOPMENT OF A CAUSAL RELATIONSHP MODEL OF JOB BURNOUT FOR NON-COMMISSIONED POLICE OFFICERS
This research was undertaken to develop and validate a causal relationship model of job burnout for non-commissioned police officers, based on the theory of Maslach (1986). The model consisted of five latent variables and twenty-nine observed variables. The sample, derived by means of multi-stage random sampling, consisted of 500 non-commissioned police officers under the Provincial Police Region II, Thailand, 2003. The research instruments included seven sets of questionnaires and objective forms. Data were analyzed by using SPSS to obtain descriptive statistics, and by employing LISREL 8.50 for model validation. It was found that the adjusted model was consistent with empirical data. Goodness of fit measures were found to be: chi-square = 13.43, df = 22, p = 0.92, GFI = 1.00, AGFI = 0.98, CFI = 1.00, SRMR = 0.02 and RMSEA = 0.00. The variables in the model accounted for 76 percent of the variance in job burnout. Variables with a statistically significant direct effect on job burnout were job stress, work line, and work experience. Variables with a statistically significant indirect effect on job burnout were role conflict, personal interrelationship in the work place, workload, and age.