การสร้างมาตรประมาณคาความสามารถในการฟนฝาอุปสรรคสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

Main Article Content

กรรณิกา สุขสมัย

Abstract

การวิจัยนี้มีจุดมุงหมายเพื่อสรางมาตรประมาณคาความสามารถในการฟนฝาอุปสรรคตามทฤษฎีของ สตอลทซสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ตรวจสอบคุณภาพของมาตรประมาณคา และสรางปกติวิสัยของ มาตรประมาณคา มาตรประมาณคาความสามารถในการฟนฝาอุปสรรคตามทฤษฎีของสตอลทซ 4 ดาน ไดแก การ ควบคุมสถานการณ การรับรูตนเหตุและรับผิดชอบตอปญหา การเขาถึงปญหา และการอดทนตอปญหา กลุม ตัวอยางเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจันทบุรีและระยอง ปการศึกษา 2547 จํานวน 1,200 คน วิเคราะหคาสถิติเบื้องตนโดยใชโปรแกรม SPSS วิเคราะหคุณภาพของมาตร ประมาณคาโดยใชโปรแกรม Lertap 5 และตรวจสอบความตรงเชิงโครงสรางของมาตรประมาณคาดวยวิธีวิเคราะห องคประกอบเชิงยืนยันอันดับสองโดยใชโปรแกรม LISREL 8.50 ผลการวิจัยปรากฏวา 1. ขอคําถามในมาตรประมาณคาความสามารถในการฟนฝาอุปสรรค มีความตรงเชิงเนื้อหาทุกขอ มีคาสหสัมพันธ ระหวางขอคําถามกับมาตรประมาณคาตั้งแต .27 ถึง .53 และคาความเที่ยงของมาตรประมาณคาทั้งฉบับเทากับ .89 2. มาตรประมาณคาความสามารถในการฟนฝาอุปสรรคมีความตรงเชิงโครงสรางอยูในเกณฑดี คาไค-สแควรเทากับ 61.16 ที่องศาอิสระเทากับ 224 คาความนาจะเปนเทากับ 1.00 ดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) เทากับ 1.00 ดัชนีวัด ระดับความกลมกลืนที่ปรับแกแลว (AGFI) เทากับ .99 และดัชนีวัดความสอดคลองเปรียบเทียบ (CFI) เทากับ 1.00 3. ปกติวิสัยแบบเปอรเซนไทลของมาตรประมาณคาความสามารถในการฟนฝาอุปสรรคจําแนกเปน 3 ระดับ ไดแกผูมีความสามารถในการฟนฝาอุปสรรคระดับสูง มีตําแหนงเปอรเซนไทลสูงกวา 77.00 ขึ้นไป ผูมี ความสามารถในการฟนฝาอุปสรรคระดับปานกลาง มีตําแหนงเปอรเซนไทลที่ 23.01 ถึง 77.00 และผูมีความสามารถ ในการฟนฝาอุปสรรคระดับต่ํา มีตําแหนงเปอรเซนไทลต่ํากวา 23.01 ลงมา

THE CONSTRUCTION OF AN ADVERSITY QUOTIENT RATING SCALE FOR HIGH SCHOOL STUDENTS

The objectives of this study were to: 1) construct an Adversity Quotient Rating Scale for high school students based on Stoltz’s theory; 2) verify the quality of the rating scale; and 3) derive norms for the rating scale. The Adversity Quotient Rating Scale was based on the four dimensions of Stoltz’s theory: Control, Origin & Ownership, Reach, and Endurance. The sample consisted of 1,200 students in the Chantaburi and Rayong Education Service Area Office, in the 2004 academic year. Descriptive statistics were obtained with SPSS; rating scale quality was determined by using Lertap 5; LISREL 8.50 was used for second order confirmatory factor analysis. The major findings were : 1. The items of the Adversity Quotient Rating Scale were found to have content validity. Item-to-scale correlations ranged from .27 to .53; scale reliability was .89. 2. The construct validity of the Adversity Quotient Rating Scale was confirmed by alignment with a criterion measure; a chi-square goodness of fit test value of 61.16 was found, with p = 1.00, df = 224, GFI = 1.00, AGFI = .99, and CFI = 1.00. 3. The percentile norms of the Adversity Quotient Rating Scale for high school students were divided into three levels: percentile rank higher than 77.00 indicating high level of Adversity Quotient; percentile rank from 23.01 to 77.00 indicating normal level Adversity Quotient, and percentile rank less than 23.01 indicating low level Adversity Quotient

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Articles)