การพัฒนารูปแบบความสัมพันธเชิงสาเหตุของความสําเร็จใน การจัดการกองทุนหมูบานและชุมชนเมือง
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อพัฒนารูปแบบความสัมพันธเชิงสาเหตุของความสําเร็จในการจัดการ กองทุนหมูบานและชุมชนเมืองของจังหวัดในเขตภาคเหนือ โดยใชวิธีการผสมผสานระหวางวิธีวิจัยเชิง คุณภาพกับวิธีวิจัยเชิงปริมาณ มีการดําเนินงาน 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การสรางรูปแบบเชิงสมมติฐาน ความสัมพันธเชิงสาเหตุของความสําเร็จในการจัดการกองทุนหมูบานและชุมชนเมือง โดยการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการจัดการกองทุนหมูบานและชุมชนเมืองเพื่อเปนรูปแบบเชิง สมมติฐานเบื้องตน ขั้นตอนที่ 2 การปรับรูปแบบเชิงสมมติฐานความสัมพันธเชิงสาเหตุของความสําเร็จใน การจัดการกองทุนหมูบานและชุมชนเมืองดวยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ : ศึกษาพหุกรณี วิเคราะหดวยการสรุป อุปนัย เพื่อตรวจสอบและขยายรูปแบบ ทําใหไดรูปแบบความสัมพันธเชิงสาเหตุของความสําเร็จในการ จัดการกองทุนหมูบานและชุมชนเมืองที่ปรับแลว และขั้นตอนที่ 3 การตรวจสอบความสอดคลองระหวาง รูปแบบเชิงสมมติฐานกับขอมูลเชิงประจักษ ดวยวิธีวิจัยเชิงปริมาณ กลุมตัวอยางที่ใชประกอบดวยกองทุน หมูบานและชุมชนเมืองในเขตจังหวัดภาคเหนือ ป พ.ศ. 2546 จํานวน 1,450 กองทุน ผลการวิจัยแสดงวา รูปแบบความสัมพันธเชิงสาเหตุของความสําเร็จในการจัดการกองทุน หมูบานและชุมชนเมืองมีความสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษ ตัวแปรในรูปแบบสามารถอธิบาย ความแปรปรวนของตัวแปรผลสําเร็จในการจัดการกองทุนหมูบานและชุมชนเมืองไดรอยละ 75
DEVELOPMENT OF A CAUSAL MODEL OF SUCCESS IN RURAL AND URBAN COMMUNITY FUNDING MANAGEMENT
The purpose of this research was to develop a causal model of success in rural and urban funding management in the northern provinces of Thailand. The study used a mixed approach of qualitative and quantitative research methods. There were several steps to the study: firstly building a hypothetical causal model for rural and urban community funding management from related texts and theories; secondly, adapting the hypothetical model through qualitative, multi-cased research. The validation and extension of the model through induction resulted in the modified causal model of success in rural and urban community funding management. The final step applied quantitative methods in order to develop and examine goodness of fit measures for the model. The sample consisted of 1,450 rural and urban funding programs in the northern provinces, 2003. Data were collected with questionnaires. Results indicated that the causal model developed provided a good fit to the empirical data, accounting for 75% of the observed variance among the funding programs.