โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปจจัยที่มีผลตอการเรียนรูอยางมีความสุขของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

Main Article Content

แพรวพรรณ พิเศษ

Abstract

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาตรวจสอบความตรงเชิงโครงสรางและความตรงขามกลุมของโมเดล ความสัมพันธเชิงสาเหตุของปจจัยที่มีผลตอการเรียนรูอยางมีความสุขของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ตามทฤษฎีการเรียนรู อยางมีความสุขของกิติยวดีบุญซื่อและคณะ (2540) กลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ในโรงเรียนสังกัด สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดภาคตะวันออก ปการศึกษา 2547 จํานวน 840 คนโมเดลประกอบดวย ตัวแปรอิสระ 5 ตัวไดแกลักษณะครูลักษณะพอแมผูปกครองลักษณะเพื่อนในกลุม ลักษณะนักเรียน และการจัดการเรียน การสอน ตัวแปรตามเปนการเรียนรูอยางมีความสุขเครื่องมือที่ใชประกอบดวยแบบสอบถามปจจัยที่มีผลตอการเรียนรูอยาง มีความสุขและแบบสอบถามการเรียนรูอยางมีความสุขวิเคราะหคาสถิติพื้นฐานโดยใชโปรแกรม SPSS และใชโปรแกรม LISREL 8.50 ตรวจสอบความตรงเชิงโครงสรางของโมเดลความสัมพันธเชิงสาเหตุ ผลการวิจัยปรากฏวาโมเดลความสัมพันธเชิงสาเหตุของปจจัยที่มีผลตอการเรียนรูอยางมีความสุขของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 2 มีความสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษอยูในเกณฑดีโดยพิจารณาจากคาไค-สแควรเทากับ 40.89 ทองศาอ ี่ สระ ิ เทากับ 83 คาความนาจะเปนเทากับ 1.00 ดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) เทากับ .99 ดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก แลว (AGFI) เทากับ .98 คารากของคาเฉลี่ยกําลังสองของเศษเหลือในรูปคะแนนมาตรฐาน (SRMR) เทากับ .01 และคารากของ คาเฉลี่ยกําลังสองของความคลาดเคลื่อนโดยประมาณ (RMSEA) เทากับ .00 ตัวแปรทั้งหมดในโมเดลสามารถอธิบายความ แปรปรวนของตัวแปรการเรียนรูอยางมีความสุขไดรอยละ 87 ตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรงตอการเรียนรูอยางมีความสุข ไดแก การจัดการเรียนการสอน ลักษณะครูลักษณะนักเรียน ลักษณะเพื่อนในกลุม และลักษณะพอแมผูปกครองตามลําดับ ผลการ ตรวจสอบความตรงขามกลุมชี้ใหเห็นวาโมเดลความสัมพันธเชิงสาเหตุของปจจัยที่มีผลตอการเรียนรูอยางมีความสุขที่ พัฒนาขึ้นสามารถนําไปใชกับกลุมตัวอยางอื่นที่มีลักษณะเทียบเคียงกันได

A CAUSAL RELATIONSHIP MODEL OF FACTORS AFFECTING LEARNING WITH HAPPINESS FOR GRADE 8 STUDENTS

The purpose of this research was to develop, validate, and cross-validate a causal relationship model of factors affecting learning with happiness for Grade 8 students, based on the Happy Learning theory of Kitiyavadee et al. (1997). The sample consisted of 840 Grade 8 students in academic year 2004, attending schools under the jurisdiction of the Office of the Basic Education Commission in the Eastern Region. The model consisted of five independent variables: characteristics of teachers, parents, friends, students, and instructions. The dependent variable was learning with happiness. SPSS was employed for descriptive statistics; LISREL 8.50 was used to analyze the causal relationship model. Results indicated that the model matched empirical data. Goodness of fit measures included a chi-square value of 40.89 with 83 degrees of freedom, p = 1.00; Goodness of Fit Index (GFI) = .99; Adjusted Goodness of Fit Index (AGFI) = .98; Standardized Root Mean Square Residual (SRMR) = .01; and Root Mean Square Error of Approximation (RMSEA) = .00. The variables in the model were found to account for 87 percent of the dependent variable’s variance. Variables which were statistically significant, having a direct effect on learning with happiness, were ranked as follows: instruction, characteristics of teachers, characteristics of students, characteristics of friends, and characteristics of parents, respectively. Cross-validation indicated that the causal relationship model of factors affecting learning with happiness could be generalized to other comparablesamples.

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Articles)