แบบจําลองความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของพฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีตอองค์การของอาจารย์คณะศึกษาศาสตร์ในมหาวิทยาลัยของรัฐ
Main Article Content
Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาและตรวจสอบแบบจําลองความสัมพันธเชิงสาเหตุของพฤติกรรมการเปน สมาชิกที่ดีตอองคการของอาจารยคณะศึกษาศาสตรในมหาวิทยาลัยของรัฐ ตามแนวคิดเรื่องพฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ ดีตอองคการของออรแกน (Organ, 1987) กลุมตัวอยางเปนอาจารยคณะศึกษาศาสตรในมหาวิทยาลัยของรัฐ 13 แหง ปการศึกษา 2547 จํานวน 438 คน ตัวแปรที่ศึกษาประกอบดวยตัวแปรแฝง 7 ตัว ไดแก ลักษณะงาน การบริหาร ทรัพยากรมนุษย ภาวะผูนําเปลี่ยนสภาพ บรรยากาศองคการ ความพึงพอใจในงาน ความผูกพันตอองคการ และ พฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีตอองคการ เครื่องมือที่ใชเปนแบบสอบถามตัวแปรแฝงทั้ง 7 ตัว วิเคราะหคาสถิติพื้นฐาน โดยใชโปรแกรม SPSS และใชโปรแกรม LISREL 8.50 พัฒนาและตรวจสอบความตรงเชิงโครงสรางของแบบจําลอง ความสัมพันธเชิงสาเหตุ ผลการวิจัยปรากฏวาแบบจําลองความสัมพันธเชิงสาเหตุของพฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีตอองคการของ อาจารยคณะศึกษาศาสตร ในมหาวิทยาลัยของรัฐที่ปรับเปนแบบจําลองทางเลือกมีความสอดคลองกับขอมูลเชิง ประจักษในเกณฑดี โดยพิจารณาจากคาไค-สแควรเทากับ 131.55 ที่องศาอิสระเทากับ 177 คาความนาจะเปนเทากับ 1.00 ดัชนีวัดระดับความกลมกลืนเปรียบเทียบ (CFI) เทากับ 1.00 คารากของคาเฉลี่ยกําลังสองของความคลาดเคลื่อน โดยประมาณ (RMSEA) เทากับ .00 ตัวแปรทั้งหมดในแบบจําลองทางเลือกที่พัฒนาขึ้น สามารถอธิบายความ แปรปรวนของพฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีตอองคการไดรอยละ 79 ตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรงตอพฤติกรรมการ เปนสมาชิกที่ดีตอองคการ ไดแกความพึงพอใจในงานและความผูกพันตอองคการ สวนตัวแปรที่มีอิทธิพลทางออม ตอพฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีตอองคการ ไดแก 1) ความพึงพอใจในงานซึ่งมีอิทธิพลทางออมผานความผูกพันตอ องคการ 2)บรรยากาศองคการและ 3) ภาวะผูนําเปลี่ยนสภาพซึ่งมีอิทธิพลทางออมผานความพึงพอใจในงาน
A CAUSAL RELATIONSHIP MODEL OF ORGANIZATIONAL CITIZENSHIP BEHAVIOR OF EDUCATIONAL FACULTIES IN PUBLIC UNIVERSITIES
Research objectives were to develop and validate a causal relationship model of organizational citizenship behavior of educational faculties in public universities, based on the concepts of Organ (1987). The sample consisted of 438 educational faculties in thirteen public universities, in the academic year 2004. There were seven latent variables, namely: job characteristics, human resource management, transformational leadership, organizational climate, job satisfaction, organizational commitment, and organizational citizenship behavior. The research instrument was a questionnaire involving the seven latent variables. Data were analyzed with descriptive statistics, using SPSS, and with LISREL 8.50 to develop and validate the causal relationship model. Results indicated that the adjusted model was consistent with empirical data. Goodness of fit measures were found to be: χ 2 = 131.55, df = 177, p = 1.00, CFI = 1.00, RMSEA = .00. The variables in the adjusted model accounted for 79% of the variance of organizational citizenship behavior. Variables having a statistically significant direct effect on organizational citizenship behavior were job satisfaction and organizational commitment. Variables having a statistically significant indirect effect on organizational citizenship behavior were: 1) job satisfaction indirectly affecting through organizational commitment; 2) organizational climate, and 3) transformational leadership indirectly affecting through job satisfaction.