ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจในการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามออนไลน์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สถิติการถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 27.30 คณะที่กำลังศึกษาส่วนใหญ่ คือ วิทยาการจัดการ คิดเป็นร้อยละ 40 ส่วนใหญ่กำลังศึกษาชั้นปีที่ 3 คิดเป็นร้อยละ 42 ผลการเรียนส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 3.01 - 4.00 คิดเป็นร้อยละ 57 การมีประสบการณ์ทำงาน / ฝึกงาน ส่วนใหญ่ ไม่มีประสบการณ์ทำงาน / ฝึกงาน คิดเป็นร้อยละ 90.75 และการมีครอบครัวเป็นผู้ประกอบการ ส่วนใหญ่ไม่เป็นผู้ประกอบการ คิดเป็นร้อยละ 96.00 และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษา เรียงจากมากไปน้อย ได้แก่ ทัศนคติ รองลงมา คือ การรับรู้การควบคุมพฤติกรรม และ การสนับสนุนของมหาวิทยาลัย และสิ่งแวดล้อม ตามลำดับ ซึ่งสามารถอธิบายความแปรปรวนร่วมของความตั้งใจในการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษาได้ ร้อยละ 65.50 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในขณะที่การคล้อยตามบุคคลอ้างอิง ไม่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษา สมการพยากรณ์ความตั้งใจในการเป็นผู้ประกอบการ= 0.741 + 0.481(ทัศนคติต่อการเป็นผู้ประกอบการ) + 0.164 (การรับรู้การควบคุมพฤติกรรม) + 0.126 (การสนับสนุนของมหาวิทยาลัยและสิ่งแวดล้อม)
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
เกศินี จุฑาวิจิตร. 2552. ศักยภาพและความตั้งใจที่จะเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ในภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ 2551.นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม.
ชาญชัย พรหมมี และ สิริมา นาคสาย.2563. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจเป็นผู้ประกอบการของนิสิตหลักสูตรที่มุ่งเน้นการเป็นผู้ประกอบการมหาวิทยาลัยพะเยา.Journal of Business Administration and Social Sciences Ramkhamhaeng University, 3(3), 65-80.
นันทพร เขียนดวงจันทร์ และขวัญกมล ดอนขวา. 2562. ทัศนคติ และความตั้งใจที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมผู้บริโภคในการซื้อสินค้าผ่านไลน์.วารสารเทคโนโลยีสุรนารี, 13(2), 58-78.
นิรันดร ทัพไชย. 2565. ความตั้งใจในการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษามหาวิทยาลัยในประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.วารสารสมาคมนักวิจัย, 27(1), 111-142.
พิชามญชุ์ อดุลวิทย์. 2554. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการแบ่งปันความรู้ตามทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน. วารสารนักบริหาร,31(1), 256-260.
พิมพิกา พูลสวัสดิ์ และวิษณุพงษ์โพธิพิรุฬห์.2562. อิทธิพลของปัจจัยตามทฤษฎีพฤติกรรรมแผนที่มีต่อความตั้งใจที่จะเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ,10(2), 50-61.
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. 2565. รายงานสถิติจำนวนนิสิตปัจจุบัน.สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2565.
สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัย และ นวัตกรรม. 2564 “การส่งเสริมการเป็นผู้ประกอบการ”สืบค้นเมื่อ 2 กันยายน 2565.
Ajzen, I. (1991). The Theory of Planned Behavior. Organizational Behavior and Human Decision Processes, 50, 179-211.
Autio, E., Keeley, R. H., Klofsten, M., & Ulfstedt, T. (1997). Entrepreneurial intent among students: testing an intent model in Asia, Scandinavia and USA ,133-147
Bandura, A., Adams, N. E., Hardy, A. B., & Howells, G. N. (1980). Tests of the generality of self-efficacy theory. Cognitive therapy and research, 4(1), 39-66.
Basu, A., & Virick, M. (2008). Assessing entrepreneurial intentions amongst students: A comparative study. In VentureWell. Proceedings of Open, the Annual Conference (p. 79). National Collegiate Inventors & Innovators Alliance.
Driessen, M. P., & Zwart, P. S. (2007). The entrepreneur scan measuring characteristics and traits of entrepreneurs. Available from Internet:< http://www. necarbo. eu/files/E-scan% 20MAB% 20Article. pdf.
Ferreira, J. J., Raposo, M. L., Rodrigues, R. G., Dinis, A., & Do Paco, A. (2012). A model of entrepreneurial intention: An application of the psychological and behavioral approaches. Journal of small business and enterprise development.
Johannisson, B. (1991). University training for entrepreneurship: Swedish approaches. Entrepreneurship & Regional Development, 3(1), 67-82.
Kautonen, T., Van Gelderen, M., & Tornikoski, E. T. (2013). Predicting entrepreneurial behaviour: a test of the theory of planned behaviour. Applied economics, 45(6), 697-707.
Kraaijenbrink, J., Spender, J. C., & Groen, A. J. (2010). The resource-based view: A review and assessment of its critiques. Journal of management, 36(1), 349-372.
Kidwell, B., & Jewell, R. D. (2010). The motivational impact of perceived control on behavioral intentions. Journal of Applied Social Psychology, 40(9), 2407-2433.
Krithika, J., & Venkatachalam, B. (2014). A study on impact of subjective norms on entrepreneurial intention among the business students in Bangalore. IOSR Journal of Business and Management, 16(5), 48-50.
Krueger, N., Reilly, M., Carsrud, A. (2000).Competing Models of Entrepreneurial Intention.Journalof Business Venturing.15, 411-432
Lee, S. H., & Wong, P. K. (2004). An Exploratory Study of Technopreneurial Intentions: A Career Anchor Perspective. Journal of Business Venturing, 19, 7-28.
Lumpkin, G. T., & Dess, G. G. (1996). Clarifying the entrepreneurial orientation construct and linking it to performance. Academy of management Review, 21(1), 135-172.
Ma, Xifang, Zhengyun Rui, and Genyuan Zhong. (2022). "How large entrepreneurial-oriented companies breed innovation: the roles of interdepartmental collaboration and organizational culture.Chinese Management Studies..
Prodan, I., & Drnovsek, M. (2010). Conceptualizing academic-entrepreneurial intentions: An empirical test. Technovation, 30(5-6), 332-347.
Remeikiene, R., Dumciuviene, D., Startiene,G.(2013).Explaining Entrepreneurial Intention ofUniversity Students:The Role of Entrepreneurial Education, Active Citizenship byKnowledge Management & Innovation:Proceedings of the Management, Knowledgeand Learning International Conference 2013, ToKnowPress.
Rudhumbu, N., Svotwa, D., Munyanyiwa, T., & Mutsau, M. (2016). Attitudes of students towards entrepreneurship education at two selected higher education institutions in Botswana: A critical analysis and reflection. Academic Journal of Interdisciplinary Studies, 5(2), 83-83.
Sánchez, A.C. (2014). The Role of Personal Values in the Entrepreneurial Process. Ph.D.Thesis,Barcelona University.
Saraih, U. N., Aris, A. Z. Z., Mutalib, S. A., Ahmad, T. S. T., Abdullah, S., & Amlus, M. H. (2018). The influence of self-efficacy on entrepreneurial intention among engineering students. In MATEC Web of Conferences (Vol. 150, p. 05051). EDP Sciences.
Schlaegel, C., & Koenig, M. (2014). Determinants of entrepreneurial intent: A meta–analytic test and integration of competing models. Entrepreneurship theory and practice, 38(2), 291-332.
Sieger, P., & Monsen, E. (2015). Founder, academic, or employee? A nuanced study of career choice intentions. Journal of Small Business Management, 53, 30-57.
Souitaris, V., Zerbinati, S., & Al-Laham, A. (2007). Do entrepreneurship programmes raise entrepreneurial intention of science and engineering students? The effect of learning, inspiration and resources. Journal of Business venturing, 22(4), 566-591.
Van Gelderen, M., Brand, M., van Praag, M., Bodewes, W., Poutsma, E., & van Gils, A. (2008). Explaining entrepreneurial intentions by means of the theory of planned behaviour. Career Development International, 13(6), 538–559.