การประยุกต์ใช้เทคนิคการตอบสนองเชิงสุ่ม สำหรับศึกษาพฤติกรรมเชิงปกปิดของนักศึกษาสาขาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่องการประยุกต์ใช้เทคนิคการตอบสนองเชิงสุ่ม สำหรับศึกษาพฤติกรรมเชิงปกปิดของนักศึกษาสาขาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มีวัตถุประสงค์เพื่อประมาณค่าสัดส่วนพฤติกรรมเชิงปกปิดของนักศึกษาสาขาวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี โดยเทคนิคการตอบสนองเชิงสุ่มของกรีนเบิร์กและคณะ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ นักศึกษาสาขาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จำนวน 28 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมเชิงปกปิดของนักศึกษาสาขาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษามีพฤติกรรมเชิงปกปิดใน 7 ประเด็นได้แก่ การดื่มสุรา (สัดส่วน 0.8571) การทุจริตในการสอบ (สัดส่วน 0.7991) การมีเพศสัมพันธ์กับเพื่อนนักศึกษา (สัดส่วน 0.7232) การทุจริตเรื่องเงินถ้ามีโอกาส (สัดส่วน 0.5759) การสูบบุหรี่ (สัดส่วน 0.4375) การเล่นการพนัน (สัดส่วน 0.4241) การขโมยทรัพย์สินของผู้อื่น (สัดส่วน 0.2813) และพบว่านักศึกษาไม่มีพฤติกรรมเชิงปกปิดใน 2 ประเด็นได้แก่ การดูสื่อลามก (สัดส่วน 0.2723) และพฤติกรรมเกี่ยวกับการเสพยาเสพติดผิดกฎหมาย (สัดส่วน 0.2009) ตามลำดับ
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
ปิยดา ทองแจ่ม. 2547. เทคนิคการตอบสนองเชิงสุ่มของวอเนอร์ กรณีศึกษา : พฤติกรรมเชิงปกปิดของนักศึกษา. รายงานการศึกษาอิสระปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถิติประยุกต์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
พินิจ ลาภธนานนท์และคณะ. 2554. การศึกษาสถานการณ์ พฤติกรรมและผลกระทบการพนันในประเทศไทย. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการการศึกษาสถานการณ์พฤติกรรมและผลกระทบการพนันในประเทศไทย ศูนย์ศึกษาปัญหาการพนัน. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไพรัช อ้นอินทร์. 2552. พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่นที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและครอบครัว. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กรมสุขภาพจิต สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขและศูนย์วิจัยปัญหาสุรา.
ภาวิณี อยู่ประเสริฐ. 2540. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สารเสพติดของนักเรียนวัยรุ่นในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเอกพยาบาลสาธารณสุข บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
ศูนย์เครือข่ายวิชาการเพื่อสังเกตการณ์และวิจัยความสุขชุมชน มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ. 2553. พฤติกรรมและทัศนคติต่อการเล่นพนันฟุตบอลโลกปี 2553 กรณีศึกษาประชาชนอายุ 12-60 ปี ในเขตกรุงเทพมหานครและหัวเมืองใหญ่. กรุงเทพมหานคร.
สุดคนึง ณ ระนอง. 2552. การสำรวจพฤติกรรมเชิงปกปิดโดยใช้เทคนิคการตอบสนองเชิงสุ่ม. วารสารมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย. 1(1): 45-54.
สุวรรณภา ปิ่นมณี. 2551. การปรับเปลี่ยนวิธีการประมาณค่าสัดส่วนของลักษณะเฉพาะเชิงปกปิด. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถิติประยุกต์ บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
โสพิน หมูแก้ว. 2545. อยู่ก่อนแต่ง : การอยู่ร่วมกันโดยไม่ได้แต่งงานของนักศึกษามหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์สังคมวิทยาและมนุษยศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมวิทยาและมนุษยศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Assanangkornchai, S., Muekthong, A. and Intanont, T. 2009. Prevalence and patterns of alcohol consumption and health-risk behaviours among high-school students in Thailand. Alcohol Clin Exp Res. 33(12): 2037-2046.
Brener, N.D. and Collins, J.L. 1998. Co-occurrence of health-risk behaviors among adolescents in the
United States. J Adolesc Health. 22(3): 209-213.
Bouza, C.N., Carmelo, H.S. and Pasha, G.M. 2010. A Review of Randomized Responses Procedures: The
Qualitative Variable Case. Investigación Operacional. 31(3): 240-247.
Chantrapanichkul, P. and Chawanpaiboon, S. 2013. Adverse Pregnancy Outcomes in Cases Involving Extremely Young Maternal Age. International Journal of Gynecology & Obstetrics. 120(2): 160-164.
Elickson, P.L., McCarffrey, D.F., Ghosh-Dastidar, B. and Longshore, D.L. 2003. New inroads in Preventing
adolescent drug use : Results from a large-scale trial of Project ALEART in Middle schools. AM J Pub Health. 93: 1830-6.
Ellickson, P.L., Tucker, J.S. and Klein, D.J. 2001. High-risk behaviors associated with early smoking: results from a 5-year follow-up. J Adolesc Health. 28(6): 465-473.
Greenberg, B.G., Abul-Ela, A.A., Simmons, W.R. and Horvitz, D.G. 1969. The Unrelated Question Randomized
Response Model: Theoretical Framework. Journal of the American Statistical Association.
(326): 520-539.
Kanato, M. and Saranrittichai, K. 2005. Early experience of sexual intercourse a risk factor for cervical
cancer requiring specific intervention for teenagers. Asian Pacific journal of cancer prevention: APJCP. 7(1): 151-153.
Karam, E., Kypri, K. and Salamoun M. 2007. Alcohol use among college students: an international perspective. Curr Opin Psychiatry. 20(3): 213-221.
Krejcie, R.V. and Morgan D.W. 1970. Determining Sample Size for Research Activities. Psycholological Measurement. 30: 607-610.
National Institute on Alcohol Abuse and Alcoholism. 2006. Underage drinking. Alcohol Alert. 67: 1-8.
Saingam, D., Assanagkornchai, S. and Geater, A.F. 2012. Drinking-smoking status and health risk behaviors among high school students in Thailand. J. Drug Education. 42(2): 177-193.
Steinhausen, H.C., Boyadjieva, S., Griogoroiu-Serbanescu, M. and Neumärker, K.J. 2003. The outcome of adolescent eating disorders: findings from an international collaborative study. Eur Child Adolesc Psychiatry. 12(1): i91-8.
Tourangeau, R. and Yan, T. 2007. Sensitive questions in surveys. Psychological Bulletin. 133(5): 859–883.
Warner, S.L. 1965. Randomized Response : A Survey Technique for Eliminating Evasive Answer Bias. Journal of the American Statistical Associations. 60(309): 63-69