การประเมินราคาแฝงเพื่อการปรับปรุงทรัพยากรน้าของครัวเรือนผู้ใช้น้าประปาในเขตพื้นที่ปลายลุ่มน้าแม่สา จังหวัดเชียงใหม่

ผู้แต่ง

  • วราภรณ์ ปัญญาวดี คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
  • ชพิกา สังขพิทักษ์ Graduate School of Global Environmental Studies, Kyoto University
  • จิราภรณ์ ก้อนสุรินทร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
  • นุชจรี ปิมปาอุด คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
  • นพดล สนวิทย์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

บทคัดย่อ

การเพิ่มขึ้นของประชากรและการขยายตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจในพื้นที่ลุ่มน้าแม่สา ทาให้ปริมาณความต้องการน้าเพิ่มสูงขึ้น เกิดปัญหาการขาดแคลนน้า โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้ง รวมทั้งปัญหาคุณภาพน้าที่เสื่อมโทรมลงจากการใช้สารเคมีในพื้นที่เกษตร รวมทั้งน้าเสียจากภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมที่อยู่ในพื้นที่ลุ่มน้า ซึ่งปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อการผลิตน้าประปาของสานักงานประปาแม่ริมที่อาศัยน้าดิบจากลาน้าแม่สา การศึกษาครั้งนี้ใช้แบบจาลองวิธีทดลองทางเลือก โดยการกาหนดคุณลักษณะควบคู่กับปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจสังคมในการศึกษาราคาแฝงหรือความเต็มใจจ่ายส่วนเพิ่มเพื่อให้เกิดการปรับปรุงทรัพยากรน้าของกลุ่มครัวเรือนผู้ใช้น้าประปาแม่ริมซึ่งอาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ปลายน้าแม่สา ผลการศึกษาพบว่าผู้ใช้น้าประปาให้ความสาคัญต่อการปรับปรุงน้าประปาโดยเฉพาะในด้านคุณภาพของน้า โดยยินดีจ่ายเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 90 เพื่อให้ได้ น้าใสไม่มีตะกอน ไม่มีสารเคมี สามารถดื่มได้โดยตรง อุปสงค์เพื่อให้เกิดการปรับปรุงทรัพยากรน้าจากกลุ่มผู้ใช้น้านี้ยังชี้ให้เห็นถึงโอกาสในการพัฒนามาตรการเพื่อกาหนดค่าบริการด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อนาไปใช้ในกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรดินและน้าเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนผู้ใช้น้าในพื้นที่ลุ่มน้าต่อไป

References

1. ชพิกา สังขพิทักษ์ จิรวรรณ กิจชัยเจริญ ฑีฆา โยธาภักดี และ เก นันทะเสน. 2548. โครงการสิทธิในการใช้และการประเมินมูลค่าทรัพยากรน้า: ประเด็นในการจัดการทรัพยากรน้าบนที่สูงอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาลุ่มน้าแม่สา อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. รายงานฉบับสมบูรณ์ เสนอต่อ สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
2. มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด อัมมาร สยามวาลา สมพร อิสวิลานนท์ อัจฉรี ศัสตรศาสตร์ กอบกุล รายะ-นาคร สมบัติ แซ่แฮ พิศสม มีถม พรเพ็ญ วิจักษ์ประเสริฐ จิราภรณ์ แหลงประพันธ์ ทิพวัลย์ แก้วมีศรี ปริญญารัตน์ เลี้ยงเจริญ อุกฤษฏ์ อุประสิทธ์ พรทิพย์ เธียรธีรวิทย์ ปิยะลักษ์ ชูทับทิม และจิตติ ตันเสนีย์. 2544. แนวนโยบายการจัดการน้าสาหรับประเทศไทย. กรุงเทพ: สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
3. วราภรณ์ ปัญญาวดี ชพิกา สังขพิทักษ์ วรพงษ์ พลกองแก้ว นงคราญ ประมูล ศักดิ์ดาเนิน นนท์กิติ เก นันทะเสน จิราภรณ์ ก้อนสุรินทร์ นุชจรี ปิมปาอุด และ นพดล สนวิทย์. 2553. การพัฒนารูปแบบ มาตรการเพื่อการจัดการทรัพยากรน้าบนพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน โดยการมีส่วนร่วมในระดับลุ่มน้า กรณีศึกษาลุ่มน้าแม่สา จังหวัดเชียงใหม่. รายงานฉบับสมบูรณ์ เสนอต่อ สานักงานคณะกรรมการ วิจัยแห่งชาติ. คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
4. Bech, Mickael and Dorte Gyrd-Hansen. 2005. “Effects coding in discrete choice experiments”. Health Economics (14). pp. 1079-1083.
5. Bennett, J. and W. Adamowicz. 2001. “Some fundamentals of environmental choice modeling”. In The choice modeling approach to environmental valuation. J. Bennett and R. Blame (eds). Edward Elgar. pp. 37-72.
6. Champ, Patricia A., Kevin J. Boyle and Thomas C. Brown (eds.). 2003. The Economics of Non-Market Goods and Resources A Primer on nonmarket valuation. The Netherlands: Kluwer Academic Publishers.
7. Fujita, Yasuo, Ayumi Fujii, Shigeki Furukawa and Takehiko Ogawa. 2005. “Estimation of willingness-to-pay (WTP) for water and sanitation services through contingent valuation method (CVM)- A case study in Iquitos city The Republic of Peru”. JBICI Review (10). pp. 59-87.
8. Glover, David. 2010. Valuing the environment: Economics for a sustainable future. Canada: The International Development Research Centre.
9. Haab, Timothy C. and Kenneth E. McConnell. 2003. Valuing Environmental and Natural resources The econometrics of Non-market Valuation. USA.: Edward Elgar Publishing, Inc.
10. Jyotsna Jalan, E. Somanathan and Saraswata Chaudhuri. 2009. “Awareness and demand for environmental quality: survey evidence on drinking water in urban India”. Environmental and Development Economics (14). pp. 665-692.
11. Louviere, J. J. and D. Hensher. 1982. Design and analysis of simulated choice or allocation experiments in travel choice modeling. Transportation Research Record (890). pp. 11-17.
12. Louviere, J. J. and G. Woodworth. 1983. Design and analysis of simulated consumer choice or allocation experiments: an approach based on aggregate data. Journal of Marketing Research (20). pp. 350-367.
13. Ortega-Pacheco, Daniel V., Frank Lupi and MichAel D. Kaplowitz. 2009. “Payment for environmental services: Estimating demand within a tropical watershed”. Journal of Natural Resource Policy Research (1). pp 189-202.
14. Pham Khanh, Nam and Tran Vo Hung Son. 2005. Household demand for improved water services in Ho Chi Minh City: a comparison of contingent valuation and choice modeling estimates. EEPSEA Research Report.
15. Snowball, J.D., K.G. Willis and C. Jeurissen. 2008. “Willingness To Pay For Water Service Improvements In Middle-Income Urban Households In South Africa: A Stated Choice Analysis”. South African Journal of Economics. pp. 705-720.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-07-31

How to Cite

ปัญญาวดี ว., สังขพิทักษ์ ช., ก้อนสุรินทร์ จ., ปิมปาอุด น., & สนวิทย์ น. (2018). การประเมินราคาแฝงเพื่อการปรับปรุงทรัพยากรน้าของครัวเรือนผู้ใช้น้าประปาในเขตพื้นที่ปลายลุ่มน้าแม่สา จังหวัดเชียงใหม่. Thailand and The World Economy, 28(4), 1–28. สืบค้น จาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/TER/article/view/137377