การพัฒนานวัตกรรมการสอนภาษาไทย แบบกระตุ้นคิด เพื่อพัฒนาทักษะ การคิดวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3

Main Article Content

ซูไรดา เจะนิ
พรพันธุ์ เขมคุณาศัย
มาโนช ดินลานสกูล
สุธาสินี บุญญาพิทักษ์

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพนวัตกรรม การสอนภาษาไทยแบบกระตุ้นคิด เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 และเพื่อเปรียบเทียบทักษะการคิดวิเคราะห์ของ นักเรียนก่อนกับหลังเรียนด้วยนวัตกรรมการสอนภาษาไทยแบบกระตุ้นคิด เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่าง คือนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 โรงเรียนศาสนูปถัมภ์ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี ได้มาจากวิธี สุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) ใช้หน่วยการสุ่มคือห้องเรียน จำนวน 1 ห้อง มีนักเรียน จำนวน 43 คน ผลการวิจัยพบว่า นวัตกรรม

การสอนภาษาไทยแบบกระตุ้น คิด เพื่อพัฒนาทักษะการคิด วิเคราะห์ มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานเท่ากับ 82.21/81.01 และนักเรียน มีทักษะการคิดวิเคราะห์หลังเรียนด้วยนวัตกรรมการสอนภาษาไทยแบบกระตุ้นคิดเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01

 

Developing of Innovation in Teaching Thai Language for Cognitive Acceleration of Analytical Thinking Skill in Mathayomsueksa 3 Students.

Suraida Jehnik, Pornphan Khemakhunasai Manoch Dinlansagoon and Suthasinee Boonyaphithak

The objectives of this research were to construct and identify the efficiency of innovation in teaching Thai language for cognitive acceleration of analytical thinking skill in Mathayomsueksa 3 students based on the standard criteria of 80/80 and to compare the analytical thinking skill of the students before and after the use of the innovation in teaching Thai language for cognitive acceleration of analytical thinking skill. The sample for the study, drawn according to the cluster random sampling, consisted of 43 Mathayomsueksa 3 students. The findings of the study reveal that the innovation in teaching Thai language for cognitive acceleration achieves the level of 82.21/81.01, exceeding the set standard criteria. After the students have been taught with the innovation in teaching Thai language for cognitive acceleration show a higher efficiency than before they are taught with the package at the level of .01 significant difference.

Article Details

How to Cite
เจะนิ ซ., เขมคุณาศัย พ., ดินลานสกูล ม., & บุญญาพิทักษ์ ส. (2015). การพัฒนานวัตกรรมการสอนภาษาไทย แบบกระตุ้นคิด เพื่อพัฒนาทักษะ การคิดวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3. Parichart Journal, 26(3), 10–23. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/parichartjournal/article/view/42979
Section
Academic Article