การจัดการขององค์กรชุมชน: กรณีศึกษากลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิตบ้านนาปรัง อ.นาทวี จ.สงขลา

Main Article Content

ธีรพร ทองขะโชค

Abstract

การวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากระบวนการจดั การของกล่มุ ออม ทรัพย์เพื่อการผลิต และ2) ศึกษาปัจจัยในการจัดการที่มีผลต่อการสร้างความ เข้มแข็งของกลุ่ม ออมทรัพย์เพื่อ การผลิต กลุ่มตัวอย่างคือสมาชิกในกลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิตบ้านนาปรัง อ.นาทวี จ.สงขลา จำนวน 320 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างและแบบสอบถาม ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการจัดการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตประกอบด้วย 1) การวางแผน เน้นแบบเป็นทางการแต่เป็นแผนระยะสั้น 2) การจัดองค์การ เน้นจัดโครงสร้างตามการจัดแบ่งงานตามหน้าที่ การรวมอำนาจอยู่ที่ประธาน บริหาร 3) การนำ พบว่า คุณลักษณะส่วนบุคคลของผู้นำมีผลต่อความสำเร็จ ในการจัดการ การสื่อสารเน้นแบบไม่เป็นทางการและเน้นรูปแบบการสื่อสาร แบบทุกทิศทาง 4) การควบคุมการดำเนินงานกระทำโดยวัดผลการปฏิบัติงาน เปรียบเทียบกับมาตรฐานที่กำหนดไว้และแก้ไขข้อผิดพลาด สำหรับปัจจัยใน การบริหารจัดการที่มีผลต่อการสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการ ผลิตในระดับสูง คือ การชี้นำ คณะกรรมการ การควบคุม และการจัดองค์กร สำหรับปัจจัยสมาชิกและการวางแผนดำเนินงานมีผลต่อการสร้างความเข้มแข็ง ในระดับปานกลาง

 

Management on Community Organizations: The Case Study of Na-Prang Saving for Production Group Tambon Khlong-Kwang, Natawee District, Songkhla Province

Teeraporn Tongkahhok

The purposes of this research were 1) To examine the management process of saving for production group 2) To study management factor affecting strengthen the saving for production group. The sample were 320 members of Na-prang saving for production group at Natawee district Songkhla province. The semi-structured interview and questionnaire were used as tools to collect data. The research revealed as follows: The management processes were 1) Planning: the saving for production group mostly make short range plan. 2) Organizing: the saving for production group was created based on functional organization structure. There are centralization to the president. 3) Leading: characteristics of the leader led to the success. Focus on informal and network communication. 4) Controlling: performance measurement was used for controlling the members’ performance. The factors influencing strengthen the savings group at the high level were the leading factor, the committee factor, the controlling factor and the organizing factor. On the contrary, the member factor and planning factor were at a moderate level.

Article Details

How to Cite
ทองขะโชค ธ. (2015). การจัดการขององค์กรชุมชน: กรณีศึกษากลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิตบ้านนาปรัง อ.นาทวี จ.สงขลา. Parichart Journal, 26(3), 102–115. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/parichartjournal/article/view/42999
Section
Academic Article