จินตภาพกับการตีความ “ชาวประมง” ในรวมเรื่องสั้น และนวนิยายของ ประชาคม ลุนาชัย

Main Article Content

ปาริชาต คงสังข์
ยุรฉัตร บุญสนิท
วรรณนะ หนูหมื่น

Abstract

บทความนี้มุ่งศึกษากระบวนการทางจินตภาพกับการตีความ “ชาวประมง” ในเรื่องสั้นและนวนิยายของ ประชาคม ลุนาชัย เพื่อชี้ให้เห็นว่า ภาพ “ชาวประมง” ในวรรณกรรมของประชาคม ลุนาชัย ใช้กรอบการสร้าง ตัวละครด้วยวิธีการใช้กระบวนการจินตภาพที่เอื้อต่อการตีความจากตัวบท และบริบท ผลการศึกษาพบว่า การตีความสารจากตัวบทผ่านกลศิลป์ทาง ภาษาด้วยการใช้จินตภาพ ส่วนการตีความสารจากบริบทผ่านตัวบทกับ ทัศนคติ สังคมร่วมสมัยและภูมิหลังของผู้เขียน กลศิลป์ทางภาษาดังกล่าว เกิดเป็นกระบวนการจินตภาพที่แสดงอารมณ์ภายในของมนุษย์ซึ่งให้คำตอบว่า ความเศร้าอันยิ่งใหญ่ของมนุษย์คือการที่จิตวิญญาณของมนุษย์ถูกทำลาย

 

Imagery and Interpretation of “Chaopramong” [Fishermen] from Prachakom Lunachai’s Short Stories and Novels

Parichart Kongsang, Yurachat Boonsanit and Wanna Numun

This article studied the processing of imagery and interpretation of “Chaopramong” from Prachakom Lunachai’s Short Stories and Novels so that the imagery of Chaopramong was defined through the process of the study. The framework of creating characters through the processing of imagery assisted the interpretation of text and context. The findings of the study showed that the interpretation of the text was through literary language via imagery, whereas the context was interpreted throught text with attitudes from contemporary society and the author’s background. The literary language was the processing of imagery that showed human internal emotions which led to the conclusion that human’s greatest sorrow is the destruction of the human spirit.

Article Details

How to Cite
คงสังข์ ป., บุญสนิท ย., & หนูหมื่น ว. (2015). จินตภาพกับการตีความ “ชาวประมง” ในรวมเรื่องสั้น และนวนิยายของ ประชาคม ลุนาชัย. Parichart Journal, 26(3), 158–169. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/parichartjournal/article/view/43015
Section
Academic Article